9 -10 ม.ค.66 บริหาร 4S4C เพิ่มประสิทธิภาพการเงินการคลังสุขภาพ
วันที่ 9 -10 มกราคม
2566 นายพันธุ์ทอง จันทร์สว่าง สาธารณสุขอำเภอเลิงนกทา และคณะ
ประชุม ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร
กิจกรรม การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการเงินการคลังของหน่วยบริการ
ประจำปี 2566
วิทยากรโดย นพ.เศษฐวิชช์ ศิริวัฒน์
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก และคณะ
แนวคิด : ประชาชนทุกคนที่เข้ามาในพื้นที่เรา คือ
คนที่นำเงินรายได้มาให้หน่วยบริการ
การปฏิบัติของเรา : บริการ ต้องดี
มีคุณภาพ
หลักการ : เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย
ระบบสุขภาพ Service plan
เขตสุขภาพที่ 10 จะใช้ Case Mix Index : CMI เป็นตัวชี้วัด
ยกระดับบริการของโรงพยาบาลในทุกระดับ
ค่า CMI แสดงถึง
ศักยภาพในการให้บริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยในของโรงพยาบาล
CMI หมายถึง ค่าเฉลี่ยนาหนักสัมพัทธ์ที่ปรับค่าแล้ว (Adjusted
Relative Weights : AdjRW ) ของผู้ป่วยในทั้งหมดที่จาหน่ายในช่วงเวลาที่กาหนด
4s : Structure
System Staff Skill
การเงินการคลังสุขภาพ จัดการด้วย 4S4C เพิ่มประสิทธิภาพได้
S :
Structure มีศูนย์จัดเก็บรายได้ตามโครงสร้าง
S :
System มีระบบการเรียกเก็บทุกกองทุนที่มีประสิทธิภาพ
S :
Staff บุคลากรมีจำนวนเพียงพอและมีขวัญก
าลังใจในการปฏิบัติงาน
S :
Skill บุคลากรได้รับการอบรมหรือพัฒนาศักยภาพ
4C : Care
Code Claim account
C : Care
มีการบันทึกข้อมูลกิจกรรมการรักษาครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน
C: Code มีการบันทึกรหัสการรักษาพยาบาลครบถ้วน
และเป็นปัจจุบัน
C: Claim มีการเบิกจ่ายที่มีประสิทธิภาพ
acCount มีการส่งข้อมูลการเบิกจ่ายให้กับหน่วยงานทันเวลาตามที่ก าหนด
ให้บริการ กองทุน LTC ในพื้นที่อำเภอ หากโรงพยาบาล และ
รพ.สต. Set แผนงาน และ จัดสรร
สัดส่วน ได้ลงตัว
เป็นอีกช่องทางที่
ประชาชนก้ได้ประโยชน์ ผู้ให้บริการก็มีความสุข โรงพยาบาลก็มีรายได้
บริการ ที่น่าสนใจ เช่น
การออกหน่วยบริการโรงพยาบาลเคลื่อนที่
ไปที่ รพ.สต.
เป็นกิจกรรมที่
ทำน้อยแต่ได้มาก
นัดหมายกลุ่มเป้าหมาย
ให้ตรง แล้วจัดบริการให้ครอบคลุมให้มากที่สุด
เช่น
X-ray คัดกรอง วัณโรค
ตรวจคัดกรอง สุขภาพจิต
ตรวจคัดกรอง สุขภาพฟัน
ตรวจคัดกรอง มะเร็งต้านม
ให้บริการ แพทย์แผนไทย
ให้บริการอื่นๆ
ที่ครอบคลุมการ Claim ได้จาก 5 กองทุน จาก สปสช.
จัดสรร ค่าบริการ
(รายรับ) ให้ รพ.สต. ตามสัดส่วนที่เหมาะสม
แพทย์แผนไทย ลูกประคบ 25 บาท Claim ได้ 250 บาท
EMS ร่วมกับ อปท. หรือ กู้ชีพ ใครออก
คนนั้น ได้เงิน
โทร ตรง รพ. รพ.
ไม่ได้เงิน
My Noted
กติกา งบสอย
ให้ทีม จัดบริการ
ที่สามารถ สอยได้
จุดเริ่ม คือ การ Authentication สปสช.
จุดบริการ
เน้นประสิทธิภาพ การ Key และ Claim
นำเสนอ ผลลัพธ์ โดย มี Benchmark กับ รพ.ระดับเดียวกัน
เงิน CF จัดสรร เป็น BONUS หรือ Reward ให้กับ หน่วยงาน และบริหารให้กับ
คนทำงาน ได้
การให้บริการ โภชนาการ ใน IPD สามารถ เพิ่มรายได้ได้มาก
ดูจากรหัสการบันทึกบริการ ของ นักโภชนาการ
การเพิ่ม CMI ง่ายๆ คือ Case ง่าย ๆ ให้ รพ.ช.ดู รพท. ดู Case ยาก ๆ
เดิม : เหมาจ่ายรายหัว
ปัจจุบัน :จ่ายตามผลงานมากขึ้น Fee Schedule
PP Non-UC
พี่ ช่วย น้อง
OP จัดสรรตาม ตาม ปชก. UC รพ. 60,000 คน
Date line การ นับ ปชก. ณ 30
เมษายน 2565
IP จัดสรรตาม ตาม เตียง เตียง น้อย มี ค่า K สูง เช่น 10 x 1.5
การ นับ Visit IP ณ 30
เมษายน 2562 ( ก่อน COVID)
PP Fee Schedule เริ่ม 1 ตุลาคม 2566
Claim
ผ่าน KTB Online
การจ้างงาน 5 ประเภท ขรก พรก. ลจป
พกส. ลชค.
สามารถบริหารจัดการได้
ด้วย รพ.เอง
ขรก. ขึ้น 2 ครั้ง
6 %
หากเงินเดือนมาก
ปล่อยย้ายได้ แล้ว จ้างน้องแทน
(คนที่มี Productivity ควรปล่อยได้)
แพทย์
ทันตแพทย์ มีค่าใช้จ่าย 1 ล้านบาท ต่อคน
ข้อพิจารณา แพทย์ ทันตแพทย์ ควรจะต้องใช้ศักยภาพ หารายได้ ให้มากกว่า 1
ล้าน บาท
ลูกจ้าง ขึ้น ครั้งเดียว 4-5%
รพ.สต. มีเงิน โอนตรงเข้าสู่ สถานบริการได้เลย
Vzccine COVID
SSS มี Program
ประกันสังคม ไม่ใช่ภาระ
แต่เป็นโอกาสที่สามารถสร้างรายได้ ตามคุณภาพบริการ
พรบ. เบิกจ่าย บริษัท กลาง ( ใบเสร็จรับเงิน )
สิทธิ อปท.
1,500 จัดไว้ ที่ รพท.
5 % จัดสรรให้ สสจ.
สสอ. รพ.สต. ด้านการบริหาร
สิทธิ SSS
OP นัดบ่อยๆ มาแต่ละครั้ง
จะได้ 120 บาท / visit
จพ. สามารถ ตรวจสุขภาพ
ทันตกรรม ได้ 900 บาท / ปี
ขรก. 5 ล้าน ใช้ปีละ 75,000
บาท เฉลี่ย ปีละ 15,000 ต่อหัว
จำนวนนี้ เบิกจ่าย ที่ รพท. รพ.มหาวิทยาลัย ประมาณ 80 %
พรบ. MC รพ.เอกชน CT SCAN ใน รพ.เอกชนได้
รพ.
Film X-ray Film ละ 240 จาก หัว
จรดเท้าได้เลย
รพ.สต. รถไม่มี พรบ. เก็บเงินไม่ได้
สิทธิ
พรบ. ตั้ง ลูกหนี้เอาไว้
ไม่ควร
ตั้ง เป็น UC
Trick อื่นๆ เช่น
รหัส Z จะได้ เงิน มากกว่า
รหัส J
รพ. ไม่ควรมี OBSERVE ควร เป็น IP ไปเลย
เงิน รพ.สต. เงิน
ฝากอื่นๆ อย่าค้างไว้นาน
โทร. 1669 รพ.ได้เงิน เป็นต้น
ค่าเสื่อม ครุภัณฑ์ 5 ปี จากนั้น
มูลค่าเหลือ 1 บาท
ค่าเสื่อม สิ่งก่อสร้าง 25-30 ปี จากนั้นมูลค่า
เหลือ 1 บาท
สิทธิการใช้ ค่าไฟฟ้า
ข้าราชการ
No comments:
Post a Comment