9 สิงหาคม 2564 เวลา 09.00 น. นายพันธุ์ทอง จันทร์สว่าง สาธารณสุขอำเภอเลิงนกทา
การประชุม
EOC
สาธารณสุขจังหวัดยโสธร
วันที่ 2 สิงหาคม
2564
เวลา 09.00 น.
ณ ห้องประชุมพญาแถน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร
ประธานการประชุมโดย นายแพทย์ธีระพงษ์
แก้วภมร นายแพทย์ สาธารณสุขจังหวัดยโสธร
ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ
1.การจัดสรรวัคซีน
Pfizer
เพื่อกระตุ้นเป็นเข็มที่
3ของจังหวัดยโสธร (ครั้งที่ 1)
จังหวัดยโสธรได้รับ
สนับสนุน 2,640 โดรส
ตามรายชื่อที่แจ้งไว้ โดยจัดสรรให้บุคลากร 7 สายงานหลัก
2.
ผลงานการฉีดวัคซีนกลุ่มเป้าหมาย 608
ของ จังหวัดยโสธร
มีผลงานต่ำที่สุดของเขตสุขภาพที่ 10 (กลุ่มอายุ
60
ปีขึ้นไป ต่ำกว่าร้อยละ 25
( เป็นจังหวัด 1 ใน
35
จังหวัด และกลุ่ม 7
กลุ่มโรค ต่ำกว่าร้อยละ
25
ใน 59 จังหวัด)
โดย
ผลงานกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ฉีดวัคซีน
ได้ ร้อยละ 14.06 กลุ่ม 7 กลุ่มโรค
ฉีดวัคซีน ได้ ร้อยละ 14.58
การติดตามผู้เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงสูง
ถือเป็นต้นทางที่สำคัญ
ให้รายงานทุกวัน ผู้ว่าฯติดตามในการประชุม
โรคติดต่อทุกครั้ง
ข้อสั่งการ
1.
การจัดสรรวัคซีน Pfizer จัดสรรให้7
วิชาชีพตาม
รายชื่อที่ขอกระตุ้น100%
ส่วน จนท. อื่นในหน่วยงาน
จัดสรรให้ตามสัดส่วนวัคซีนที่เหลือ
โดยยึดข้อมูลจากผู้ ประสงค์ฉีดวัคซีนตามรายชื่อที่สำรวจมา
2.
งดฉีดวัคซีนให้บุคคลที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน
การจัดสรรรอบนี้
ถ้าตรวจพบจะไม่จัดสรรวัคซีนให้ใน ครั้งต่อไป
3.การฉีดวัคซีนให้เน้นฉีดในกลุ่มเป้าหมาย
608
โดยสามารถฉีดให้กลุ่มอื่นๆ ได้ในอัตราส่วน 1
: 2 (1 คือ กลุ่มอื่นๆ 2 คือ
กลุ่ม 608)
4.ให้แต่ละอำเภอกำหนดแผนการฉีดวัคซีน
ให้เร็วที่สุด ภายใน 3
วัน เก็บตก 2 วัน(กระทรวงฯตามข้อมูลทุกวัน)
5.
ให้ติดตามผู้เดินทางมาจากพื้นที่ควบคุมสูงสุดและ
เข้มงวดทุกราย เพื่อให้กักตัว
และได้รับการตรวจหาเชื้อ เพื่อป้องกันไม่ให้มีการแพร่เชื้อให้ชุมชน
6.
ให้ทุกอำเภอจัดทำแผนการฉีดวัคซีน ส่งให้จังหวัด
และให้มีการกระจายการฉีดวัคซีนลงไปในพื้นที่ :
โดยเฉพาะอำเภอที่วัคซีนยังเหลือ ให้เร่งกำหนดแผนการ
ฉีดวัคซีนกลุ่มเป้าหมาย (เน้น กลุ่ม 608 )
เพราะสัปดาห์นี้จังหวัดจะได้รับ สนับสนุนวัคซีน
อีกและให้วางแผนฉีดวัคซีนเก่าให้หมด ก่อนที่วัคซีนใหม่จะจัดสรรมา
ณ วันนี้ อำเภอเลิงนกทา มีผู้ป่วย 349 ราย กำลังรักษา
(รพ.สนาม
104
ราย รพร.เลิงนกทา
134
ราย Co-Ward
วัดพรมฯ 36 ราย
CI
บ้านด่าน 88 ราย HI 7 ราย)
จุดพักคอย
มีทุกตำบล บางตำบลมี จุดพักคอย ในระดับหมู่บ้าน ด้วย
แยกผู้มีผลตรวจ
ATK
บวก และ RT-PCR บวก(เข้ารับการรักษาใน
โรงพยาบาล)
HI ใช้สำหรับ ผู้ป่วยไม่ประสงค์นอนโรงพยาบาล
รักษาที่ HI และให้ยา
ฟาวิฟิราเวีย หรือ ฟ้าทะลายโจร ตามเกณฑ์
No comments:
Post a Comment