3/4/09
อบรม การจัดวางระบบควบคุมภายในเป็นวันที่ 2 :
วันที่ 3 มีนาคม 2552: เข้ารับการอบรม เชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดวางระบบควบคุมภายใน ณ ห้องประชุมชั้น 5 โรงพยาบาลยโสธร เป็นวันที่ 2
วิทยากรหลักโดย นางอรวรรณ ยืนยง นักวิชาการสาธารณสุข เชี่ยวชาญ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร เ มื่อวาน น าง วีรญา บํารุงสวัสดิ์ จาก สสจ.มุกดาหาร
ผู้เข้ารับการอบรม จาก สำนักงานสาธารณสุขอำเภอคำเขื่อนแก้ว ได้รับมอบหมาย ให้คิด เรื่องระบบควบคุมภายใน ในงานควบคุมโรค โดยกลุ่มพวกเรา มีเลขานุการกลุ่ม ที่รู้เรื่อง การควบคุมภายในที่ดี สามารถเป็นตัวอย่างได้ เช่น นางเดือน ตั้งจิต หัวหน้าสถานีอนามัยนาหลู่
ซึ่ง พวกเราช่วยกันคิดระบบงาน จากการปฏิบัติงานปกติ ว่าจะมีความเสี่ยงเกิดขึ้นได้ ณ จุดใดบ้าง โดยมี เช่น ยกตัวอย่าง การป้องกันควบคุมวัณโรค
เราเริ่มจากการ คิด Flow Chart ของงานควบคุมวัณโรค TB เริ่มจาการคัดกรอง กลุ่ม ประชาชนทั่วไป กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วย กลุ่มปกติ
1. การคัดกรอง Screen โดย อสม. มีความเสี่ยงเกิดขึ้นเช่น อสม.ไม่ทำงาน
อสม.ทำงานแต่ไม่ได้กลุ่มเป้าหมายที่ครอบคลุม
อสม.ได้กลุ่มเป้าหมายแต่ กลุ่มไม่มาพบแพทย์
เกิดการแพร่เชื้อ
2. คัดกรอง 8 คำถาม โดย จนท. จนท. ถามไม่ครอบคลุม ทุก Case
มีแบบแต่ไม่ใช้แบบคัดกรอง
แบบสอบถามไม่เพียงพอ
ลงข้อมูลไม่ครบ
เกิดการแพร่เชื้อ
3. กลุ่มเป้าหมายไม่มาพบแพทย์ เพื่อคัดกรองในการตรวจ X-ray และตรวจเสมหะ เก็บเสมหะไม่ถูกวิธี
พาหนะ และ ค่าพาหนะ ในการเดินทาง ส่งคน และ ส่ง เสมหะ 3 วันแรก
โรงพยาบาลไม่วางระบบรองรับ ในการคัดกรอง เช่น
ช่องทางด่วน จนท.รพ.ไม่รับทราบร่วมกัน แพทย์ไม่รับทราบร่วมกัน
เกิดการแพร่เชื้อ
ผู้ป่วยไม่ทราบผลการตรวจทุกราย
4. เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง เช่น X-ray Lab ไม่มีระบบรองรับที่ดี เช่น ฟิล์มไม่พอ LAB ตรวจไม่หมด อุปกรณ์LAB ไม่เพียงพอ
แพทย์ อ่านฟิล์ม ไม่มีตู้เย็นเก็บ เสมหะ X ray ไม่ทัน เป็นต้น
การแพร่เชื้อ กิจกรรม 14 วัน
5. กลับบ้าน แพร่เชื้อ จนท.ไม่ติดตาม ญาติไม่เข้าใจ คนไข้ไม่กินยา อาการข้างเคียงของยา จัดสิ่งแวดล้อม อนามัยส่วนตัว การดูแลสภาพจิตใจ ชุมชนไม่ให้ความร่วมมือ เศรษฐกิจวิถีชีวิตประจำวัน เบิกยาไม่ได้ตามนัดหมาย
6. ขาดการักษา ตายระหว่างการรักษา ย้ายที่อยู่ระหว่างการรักษา
7. กินยาครบเดือนที่ 2 ผู้ป่วยและผู้สัมผัสร่วมบ้าน ต้องไปตรวจเสมหะ ทุกคน แต่ไปไม่ครบ และเก็บเสมหะไม่ถูกวิธี
ผู้ป่วยไม่ทราบผลการตรวจทุกราย เบิกยาไม่ได้ตามนัดหมาย เกิดการแพร่เชื้อ
8. ผู้ป่วยกินยาครบ แต่ไม่มา ตรวจ เสมหะ เก็บเสมหะไม่ถูกวิธี ไม่มาตรวจ X-ray เกิดการแพร่เชื้อ
9. ระบบข้อมูลและรายงาน ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา
10. การส่ง ส่ง ต่อผู้ป่วย คนขับรถ ไม่ Stand by ไว้รอ รถสภาพไม่พร้อม คนขับรถไม่ทราบข้อมูล เกิดการแพร่เชื้อ พบว่าเป็น TB ต้อง Admit 14 วัน ผู้ป่วยไม่มา ญาติไม่เข้าใจ จนท.ไม่รับทราบ กระทบวิถีชีวิตประจำวัน ห้องแยกโรคไม่เพียงพอ ....เป็นต้น....
สิ่งที่ต้องทำเป็นการเร่งด่วนคือ ของคณะเรา คือ
1. ผังโครงสร้างองค์กร จัดแบบคนเป็นตัวตั้งแล้วใส่งานลงไป หรือ เอางานเป็นตัวตั้งแล้วใส่คนลงไปก็ได้ เช่นจังหวัดมุกดาหาร จัดตามงานแล้วใส่คนลงไป
2. คำสั่งมอบหมายงาน ซึ่ง ต้องสัมพันธ์ กับ ผังโครงสร้างองค์กร ตามข้อ 1
3. ขั้นตอนที่มีความเสี่ยง ไม่ควรให้คนๆเดียว ทำจนจบกระบวนการ อย่างน้อย ต้องมีผู้บริหารตรวจสอบ
ภารกิจ ของทีม สำนักงานสาธารณสุขอำเภอคำเขื่อนแก้ว
1. กิจกรรมที่ 1-6 ถึง หน้า 49
2. การบริหารงานบุคคล Copy สมรรถนะมา ลง
3. ระเบียบปฏิบัติ (ทุกงาน) วันนี้ เอา งานควบคุมโรค
4. ค้นหาความเสี่ยง ลงในแบบบันทึกทะเบียนความเสี่ยงหน้า 15
5. ลง รายละเอียด ตามแบบ ค. 2 หน้า 53
6. ลง รายละเอียด ตามแบบ ค. 3 หน้า 55
7. จัดทำ รายละเอียด ตามแบบ ค. 1 หน้า 57
8. ค. 4 ไม่ต้องทำ เพราะเป็นระดับองค์กร พวกเรา เป็นหน่วยงานย่อย ไม่ต้องทำ
ตามเอกสาร ตามคู่มือ หน้า ที่ 15
ภารกิจ/ งาน 3 ด้าน คือ บริหาร บริการ และวิชาการ
กิจกรรม Copy มาจาก ช่อง F
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
No comments:
Post a Comment