17 ส.ค.2560 สาธารณสุขยโสธร ประเมิน CUP Ranking ณ
อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร
วันที่ 17 สิงหาคม 2560
ผมนายพันธุ์ทอง จันทร์สว่าง และคณะ คปสอ.คำเขื่อนแก้ว
เข้าร่วม
กิจกรรม รับการประเมินผลการปฏิบัติราชการหน่วยงานสาธารณสุขระดับอำเภอ และจัดลาดับ
หน่วยงาน ( CUP Ranking) ณ ห้องประชุม สำนักงานสาธารณสุขระดับอำเภอ
คำเขื่อนแก้ว
หัวหน้าคณะ
โดย นายบรรจบ แสนสุข หัหน้ากลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุข
จังหวัดยโสธร
นำเสนอผลงานโดย นายชำนาญ มาลัย
สาธารณสุขอำเภอคำเขื่อนแก้ว ประธาน คปสอ.คำเขื่อนแก้ว
พญ.ธิดารัตน์ จิตรมาส
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลคำเขื่อนแก้ว รองประธาน คปสอ.คำเขื่อนแก้ว นำคณะ จาก
โรงพยาบาลคำเขื่อนแก้ว และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เข้าร่วมกิจกรรม
โดยพร้อมเพรียงกัน
ขอบคุณและส่งกำลังใจ
ให้ พื้นที่รับการประเมิน โดย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล แคนน้อย
ทั้งนี้การประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน
สาธารณสุขระดับอาเภอ และจัดลำาดับหน่วยงาน (Ranking) ปี ๒๕๖๐ จังหวัดยโสธร
เนื้อหาประกอบด้วย ตัวชี้วัดที่ใช้ในการประเมินผลการดาเนินงานด้านสาธารณสุข ทั้งสิ้น
จานวน ๔ ยุทธศาสตร์ ๒๓ ตัวชี้วัด แต่ละตัวชี้วัดจะแสดงให้เห็นถึงขอบเขต เนื้อหา รายละเอียด
วิธีการในการจัดเก็บข้อมูลเพื่อวัดและประเมิน การดาเนินงานแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่
อันเป็นผลมาจาก การดาเนินกิจกรรมทางการแพทย์ และ สาธารณสุขที่อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงาน
และสถานบริการสาธารณสุขในสังกัด
KPI
รายละเอียด น้าหนักคะแนน
ยุทธศาสตร์
๑
1
ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 4
๒
ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี 4
๓
อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี 4
๔
ร้อยละของตาบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (LongTerm Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์4
๕
อัตราความสาเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้า 4
๖
ร้อยละของตาบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ตับ 4
๗
อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน 4
๘
อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 5
๙
ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย 4
๑๐
ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน
หลังจาหน่ายจากการบาบัดรักษาตามเกณฑ์กาหนด4
๑๑
ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กาหนด4
๑๒
ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์GREEN&CLEAN
Hospital5
ยุทธศาสตร์
๒
๑๓
ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดาเนินการในพื้นที่(Primary Care
Cluster)4
๑๔
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน
ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
(CVD
Risk) ใน ๑๐ ปีข้างหน้า4
๑๕
ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล 5
๑๖
อัตราการฆ่าตัวตายสาเร็จ 4
๑๗
ร้อยละของผู้ป่วย CKD
ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4
ml/min/1.73m2/yr 4
๑๘
ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น
๓ 4
๑๙
ร้อยละของ รพ.สต. ในแต่ละอาเภอที่ผ่านเกณฑ์ระดับการพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว 5
ยุทธศาสตร์
๓
๒๐
ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนาดัชนีความสุขของคนทางาน (Happy Work Life
Index) และ Core Value “MOPH” ไปใช้(ผ่านเกณฑ์ระดับ
๓ ขึ้นไป)5
ยุทธศาสตร์
๔
๒๑
ร้อยละของจังหวัดและหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล (ปี 2560
เน้นหนักเรื่องการวินิจฉัยสาเหตุการตาย [ill-defined] น้อยกว่า 20%)5
๒๒
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน 5
๒๓
ร้อยละผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพที่เผยแพร่ให้หน่วยงานต่างๆนาไปใช้ประโยชน์ 5
รวม
๑๐๐
No comments:
Post a Comment