วันที่ 22 มิถุนายน 2564 ณ ห้องประชุม สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเลิงนกทา นายพันธุ์ทอง จันทร์สว่าง สาธารณสุขอำเภอเลิงนกทาและคณะ เข้าร่วม กิจกรรม รับการตรวจราชการ ตามที่ ดร.สุภาภรณ์ ศรีธัญรัตน์ ผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพจิตที่ 10 อุบลราชธานี ร่วมกับ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร ลงพื้นที่ ตรวจ ประเมิน ผลการดำเนินงานเชิงประจักษ์ ประเด็น สุขภาพจิต เขตสุขภาพที่ 10 ในพื้นที่ อำเภอเลิงนกทา
นำเสนอข้อมูล
โดย นายธนกร วอทอง ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอเลิงนกทา
เป้าหมายไม่เกิน
8 ต่อ แมนประชากร
ภาพรวมจังหวัด
ฆ่าตัวตายสำเร็จ 27 ราย คิดเป็น 5.05 ต่อ แสนประชากร
อำเภอเลิงนกทา ฆ่าตัวตายสำเร็จ
5 ราย คิดเป็น 5.2 ต่อ แสนประชากร
ปัจจัยเสี่ยง
ต่อการซ่าตัวตาย คือ โรคจิตเวช/NCD
ปัจจัย
กระตุ้น ปัญหาสัมพันะภาพ ความ ขัดแย้งกับครอบครัว คนใกล้ชิด
ปัจจัย
ส่วนบุคคล บุคลิกภาพ คิดมาก พูดน้อย
จัดเตรียมความพร้อม และให้ข้อมูลที่ดี โดย
ผู้รับผิดชอบงาน สุขภาพจิต จาก สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเลิงนกทา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่ง และ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเลิงนกทา
จากนั้น ลงพื้นที่จริง ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สร้างมิ่ง
ผู้ประเมินสุขภาพจิต 7,373
คน ผลการประเมินสุขภาพจิต ด้วยMental
Health Check In
( 1 ตุลาคม 2563 - 23 มิถุนายน 2564) พบว่า
เครียดสูง ร้อยละ 0.85 เสี่ยงซึมเศร้า
1.13 เสี่ยงฆ่าตัวตาย 0.46
มีภาวะเหนื่อยล้าหมดไฟ (เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/อสม.) ร้อยละ 2.62
จุดเด่นและข้อค้นพบการด าเนินงาน ณ
พื้นที่อำเภอเลิงนกทา
ความร่วมมือที่ดี
ขับเคลื่อนบูรณาการ ผ่านกลไก พชอ. เลิงนกทา
ใช้การบำบัด
ฟื้นฟู โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community based
treatment and rehabilitation : CBTx) แก้ไขปัญหา การฆ่าตัวตาย/ยาเสพติด
ข้อเสนอแนะ
ให้ สอบสวน Psychological Autopsy ผู้เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายสำเร็จ
ทุกราย
ด้าน
ความรอบรู้สุขภาพจิต (Mental Health Literacy) 1
สร้างความตระหนัก
: Early
Warning Sign, 3 ส Plus, วัคซีนใจ, การลดการใช้ความรุนแรง
ในครอบครัว ให้ กลุ่ม อสม และ ประชาชน
ทั้งนี้ นพ.ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน
ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 10
มีกำหนด
ตรวจราชการรอบที่ 2-2564 จังหวัดยโสธร
ระหว่างวันที่ 23-25 มิถุนายน 2564
นพ.ธีระพงษ์ แก้วภมร
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดยโสธร มอบความไว้วางใจ ให้อำเภอเลิงนกทา
เป็นตัวแทนจังหวัดยโสธร ให้คณะทำงาน จาก เขตสุขภาพที่ 10
ลงพื้นที่ ตรวจ ประเมิน ผลการดำเนินงานเชิงประจักษ์ ในพื้นที่ ( Monitoring
& Evaluation) จำนวน 4
ด้านดังนี้
วันที่ 21 มิถุนายน 2564 ประเด็น OVCCA ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกุดแข้ด่อน
ตำบลสร้างมิ่ง
วันที่ 22 มิถุนายน 2564 ประเด็น สุขภาพจิต ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สร้างมิ่ง
วันที่ 23 มิถุนายน 2564 ประเด็น กัญชา ทางการแพทย์ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สามแยก
วันที่ 23 มิถุนายน 2564 ประเด็น ศักยภาพ อสม. ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สมสะอาด
No comments:
Post a Comment