4/1/20

20 มี.ค.63ณ สาธารณสุขจังหวัดยโสธร_สรุปผล_ตรวจราชการ ร่วมกัน ต้าน COVID-19

20 มี.ค.63ณ สาธารณสุขจังหวัดยโสธร_สรุปผล_ตรวจราชการ ร่วมกัน ต้าน COVID-19
20 มี.ค.63 ตรวจราชการ ณ จ.ยโสธร นั่งประชุม Social Distancing
วันที่ 20 มีนาคม 2563 นายพันธุ์ทอง จันทร์สว่าง และคณะ เข้าร่วมรับฟัง สรุป ผลการตรวจราชการ
ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร
ประธานโดย นพ.ธงชัย กีระติหัตถยากร ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 10
นพ.จักราวุธ จุฑาสงฆ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดยโสธร นำคณะเข้าร่วมประชุม โดยพร้อมเพรียงกัน  
เป็นการจัดที่นั่ง ตาม หลัก Social Distancing  เพื่อ ป้องกัน โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19  

ข้อสั่งการ / ข้อเสนอแนะจากการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เพิ่มเติม  วันนี้
COVID-19
 การปฏิบัติงานขอให้ทำงานในเรื่องที่สาธารณสุขเราเชี่ยวชาญ ตามภารกิจและบทบาทหน้าที่
เรื่องที่เป็นหน้าที่ของหน่วยงานอื่น ขอให้หน่วยงานนั้นๆรับไปทำ ต้องกระจายงานออกไปให้หน่วยงานภาคีเครือข่ายปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
 ส่งเสริมให้ประชาชนใช้ Mask ผ้า และขอให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างใช้ Mask ผ้าเมื่อออกนอกสถานบริการเพื่อให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่นในการใช้ Mask ผ้า
 ให้ ผู้บริหารทุกระดับ จนถึง รพ.สต. กำกับเรื่องการบันทึก Program รายงานต่างๆ ใน web ให้ทันเวลาทุกวัน
สุขภาพกลุ่มวัย
 ควรร่วมกันหาสาเหตุปัญหา เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (อ้วน เตี้ย ซีด) และพัฒนาการล่าช้า  
 ช่วยกัน ปชส. รณรงค์ ให้ความรู้เรื่องถึง ประโยชน์ และโทษ การคลอดโดยการผ่าตัด ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นมาก
 เพิ่มการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคให้ครบ ตามเป้าหมาย
 การสื่อสารกับผู้ป่วย NCD เดิม ประชาชนคิดว่า ไม่สามารถรักษาหายได้ ควรเป็นการสื่อสารที่เสริมพลัง และเปลี่ยนมุมมองวิธีคิด ว่าโรคนี้สามารถหายได้ถ้า 4.1 มีการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม และ 4.2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับครอบครัวเพื่อไม่ให้เกิดผู้ป่วยรายใหม่
การมี และใช้ประโยชน์จาก ผังเครือญาติ Family Tree เพื่อค้นหาครอบครัวเสี่ยง และบุคคลเสี่ยง

กลุ่มประกันสุขภาพ : ปัจจุบัน รพ.สต. ไม่สามารถเรียกเก็บเงินจากผู้ป่วยที่ใช้สิทธ์เบิกจ่ายตรงได้เนื่องจาก รพ.สต. ไม่มีเครื่องรูดบัตร (EDC) ให้หาวิธี แนวทางปฏิบัติร่วมกันทั้งจังหวัด หรือ ระยะแรก อาจเป็นระดับอำเภอ เช่นให้ผู้ป่วยไปขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วยของโรงพยาบาล และกำหนดแนวทางการรับยาให้สามารถรับยาที่ รพ.สต.ได้ เพื่อแก้ไขปัญหาการสูญเสียรายได้จากการให้บริการ

รายละเอียดตามที่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร สรุปผลงาน (ด้านล่าง)










ร้อยละ 72.33 ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อย ละ 12.03
ปัญหาซีด 20.78 % มีทุกกลุ่มอายุ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก หากแก้ปัญหาได้ เด็กจะเพิ่ม IQ ได้ขึ้นมาอีกถึง 4 จุด  ( แก้ปัญหา ซีด มีผลกระทบถึง Thalassemia ได้บ้าง แต่เป็นส่วนน้อย )  
จังหวัดยโสธร ได้รับวิตามิน เสริมธาตุเหล็ก เพียง 84.06 %
เน้นให้กลุ่มเป้าหมายได้รับ ยาเสริมธาตุเหล็ก บริโภคเกลือไอโอดีน และเด็กได้ดื่มนมครบตามเกณฑ์ทุกคน
พัฒนาการเด็ก เราให้ตัวต่อ เล่นในห้อง ส่งผลให้ พฤติกรรมการอยู่ร่วมกันน้อยลง การปฏิสัมพันธ์กันลดลง การออกกำลังกายนอกห้องน้อยลง ส่งผลถึง อ้วน ผอม เตี้ย ซีด สุขภาพจิต เป็นต้น
กรมวิชาการ ต้องให้ข้อมูล เราซีดเพราะอะไร เราจะแก้ปัญหาอย่างไร
นพ.สสจ.ยส. ทำควบคู่กับงานอื่นๆ เช่นการตรวจพยาธิ การทำ Family Tree ในงาน PCC
ผอ.รพ.ยส.       ธาตุเหล็ก  กับ   โฟลิค  ควรแยกจากกัน  ตัวหนึ่งไม่ส่งผลกับ Thalassemia
เด็กอ้วน เด็กผอม อำเภอค้อวัง ... คน ได้รับการตรวจร่างกาย การตรวจฟัน การเยี่ยมบ้าน ภาวะซีด การได้รับนม การบริโภคอาหาร หรือ การออกกำลังกายเป็นต้น
            แนวทางการทำ R2R งานพัฒนาการเด็ก
            งาน วัยรุ่น : อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ๑๕–๑๙ ปี จังหวัดยโสธร ย้อนหลัง ๕ ปี  มีแนวโน้ม ลดลง ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ อัตราการคลอดมีชีพหญิง ๑๕–๑๙ ปี  ๖.๙๒ ต่อประชากรหญิง ๑๕–๑๙ ปีพัน คน อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า ๒๐ ปี  ร้อยละ ๖.๔๐   หญิงอายุน้อยกว่า ๒๐ ปี ที่ได้รับบริการ คุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern Methods) หลังคลอดหรือหลังแท้ง ร้อยละ ๒๓.๒๐ และ ได้รับบริการ คุมกำเนิดด้วยวิธีกึ่งถาวร  ร้อยละ ๘๒.๗๖  โรงพยาบาลทุกแห่งผ่านโรงพยาบาล Youth Friendly Health Services : YFHS  
ผู้สูงอายุคุณภาพ  ยโสธรมีผู้สูงอายุ ๙๑,๐๗๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๙๔  มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี  
เข้าร่วมโครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) ครบทั้ง ๗๙ แห่ง  อปท.87 แห่ง เบิกจ่ายเงินกองทุน  LTC  ครบทุกแห่ง อบรม CM ๑๖๖ คน ปฏิบัติงาน จริง ๑๒๙ คน อบรม CG  ๑,๑๖๒ คน ดูแลผู้สูงอายุตาม Care plan ,๐๕๖ คน อัตราส่วน CM : CG = ๑ : ๘.๒  มีผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง ๒,๒๗๓ คน ได้รับการดูแลตาม Care plan ,๙๐๙  คน ร้อยละ ๘๓.๙๙  ผู้สูง ๘๒,๔๕๕ คน ได้รับการคัดกรองภาวะสมอง เสื่อม ๔๓,๑๘๒ คน ร้อยละ ๕๒.๓๘  พบผิดปกติ ๑,๐๒๓ คน ร้อยละ  ๒.๓๗  ได้รับการคัด กรองภาวะหกล้ม ๔๓,๒๑๔ คน ร้อยละ ๕๒.๔๒ พบผิดปกติ ๓,๙๑๖ คน ร้อยละ ๙.๐๖  
            COVID 19 ต้องให้กำลังใจ ซึ่งกันและกัน ภารกิจทั่วไปอื่นๆ ที่นอกเหนือความชำนาญของพวกเรา
ต้องผลักออกไปให้เป็นภารกิจของภาคีต่างๆในชุมชน
            สารคัดหลั่ง Home Quarantine การเก็บการทำลายเชื้อ ใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ หรือ ผงซักฟอก หรือ ตากแดด  PUI: สารคัดหลั่ง เป็นหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกแห่ง

สุขอนามัย อนามัยสิ่งแวดล้อม จุดสัมผัสที่เสี่ยงอีกแหล่งคือ ห้องน้ำ
ป้องกันเต็มที่ ป้องกันไม่ให้เกิด เป็นไปได้ยากมาก แต่สิ่งที่เราให้ความสำคัญคือ ป่วยแล้วเราต้องควบคุมให้ได้
เพื่อไม่ให้เข้ามาเป็นภาระโรงพยาบาลมากมาย IC เป็นเรื่องสำคัญ Universal Precaution ต่อไปโรงพยาบาลต้อง Strengthening เพราะหากเราละเลยไป ใครจะดูแลผู้ป่วย หากราติด 1 คน บุลากรเราจะหายไป คนละ 14 วัน ระบบเราจะล่ม ที่ผ่านมา นักสาธารณสุขได้ร่วมกันทำงาน เหนื่อยมาพอควรแล้ว ต่อไปเมื่อป่วยจะเข้ามารักษา ภาระจะเข้ามาถึงโรงพยาบาล  ข้อจริงคือ ความรุนแรงถึงเสียชีวิตเพียง 5 % เท่านั้น เป็นแล้ว 85 % หายได้โยไม่ต้องทานยาใดๆเลย เพราะร่างกายสามารถฟื้นฟูได้ COVID-19 อัตราตายรุนแรงกว่าไข้หวัดใหญ่ 2 เท่า ไข้หวัดใหญ่เสียชีวิต 2 % เท่า ต่อไป COVID-19 แผนการรักษาจะเหมือนไข้หวัดนก หรือไข้หวัดใหญ่ทั่วไป
            คำสั่ง ผู้ตรวจฯ รถ 1669 ที่ไปรับ คือ รถ Refer ของโรงพยาบาลเท่านั้น ไม่อนุญาตให้ รถอื่นนำมา หรือ ไม่อนุญาตให้ 1669 อปท หรือ อื่นๆ นำส่งโรงพยาบาล
การลดแออัด ลดรอคอย โดยการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิ และเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ในระยะ 10 ปี  (พ.ศ. 2563 2572) จำนวน ๕๒ ทีม  ปี 2563 มีแผนการจัดตั้ง  25 ทีม คิดเป็นร้อยละ 48.07 
Priority แรกคือ ไม่ให้เขาป่วย ระบบเราต้องให้ความสำคัญกับประเด็นนี้ คือการป้องกัน ส่งเสริมไม่ให้เขาป่วย
แต่ระบบเรา ให้ความสำคัญกับการ Screen ต่าง วัดได้จาก งบประมาณที่ใส่เข้าไป ในการหาคนป่วยต่างๆ ทุกประเภท
ไปจนถึง เมื่อป่วยแล้วเรายินดีที่จะควักเงินไปใช้เพื่อการรักษา แม้จะใช้ งปม.มากมายก็ตาม
ต่อไปควรที่เรา (ระบบ สาธารณสุข และ สปสช.) จะเปลี่ยนคำถามว่า ครอบครัวที่ไม่ป่วย ได้เท่าไร
ส่วนการกระจายผู้ป่วย ไปแออัดที่อื่น เป็นการบริหารจัดการภายใน ซึ่ง เป็น Priority รองลงไป เช่น การกระจายยาออกไป โดยที่ผู้ป่วยไม่ต้องมาหาเรา ถือเป็นบริการพิเศษ SMC  Special Medical Counter
การตรวจเบาหวาน ความดันที่บ้าน ด้วยเครื่องมือสมัยใหม่ ส่งผลให้คุณหมอ ไม่จำเป็นต้องมาโรงพยาบาล เป็นต้น
            ER คุณภาพ พัฒนาการดูแลผู้ปุวยอุบัติเหตุและฉุกเฉินอย่างต่อเนื่อง  พบว่าอัตราส่วนของ ผู้ปุวยกลุ่มไม่ฉุกเฉิน (Triage level 4-5) ยังอยู่ในอัตราที่สูง
            โรงพยาบาลที่มีระบบรับบริการที่ร้านยา รพท.ยโสธร ได้คัดเลือกกลุ่มโรค ที่จะให้บริการรับยาที่ร้านยา ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไทรอยด์ผู้ปุวย โดยมีเงื่อนไข ผู้ปุวย DM ที่มี HbA1c 8% ร่วมกับไม่มียาฉีดเบาหวาน   ผู้ปวุย HT และ Thyroid ที่มีรายการยาไม่เกิน 4 รายการต่อการมารับบริการ 1 ครั้ง ในเขต อ าเภอเมืองยโสธร)  และ เลือกรูปแบบที่  1 : โรงพยาบาลจัดยา ส าหรับผู้ปุวยรายบุคคลและส่งยาไปที่ร้านยาเพื่อจ่ายให้กับผู้ปุวย จ านวนผู้ปวุย ๓ กลุ่มโรค ตั้งแต่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๒ ถึง ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ พบว่า จ านวนผู้ป่วย ๓ กลุ่มโรค รวม ๖๖๔ ราย คาดว่าจะส่งต่อผู้ป่วยไป รับยาที่ร้านยา ๖๗ ราย  ร้านยาที่เข้าร่วมโครงการจ านวน 6 ร้าน (ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองยโสธร) ได้แก่ คลังยาเภสัช แสงอรุณฟาร์ม่า สุกัญญาเภสัช ศูนย์ยาเภสัช  อัญญาเภสัช วภิาดาเภสัช          (อยู่ระหว่าง เตรียมท าสัญญาการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยร่วมบริการกับ สปสช. อุบลราชธานี) ส่วนการกระจายผู้ป่วยจิตเวช รับยาที่ร้านขายยา มาตรการพัฒนาศักยภาพด้านการบริการ เครือข่ายบริการสุขภาพจิต อยู่ในช่วงด าเนินการ โดยการประเมินอาการผู้ปุวยที่มารับบริการแบ่งประเภทผู้ปุวยที่สามารถรับยาที่ร้านขายยา  พร้อมการจัดท า แนวทางประเมินระดับอาการ ประเภทผู้ปุวยจิตเวชที่จะสามารไปรับยาที่ร้านขายยาใกล้บ้าน และ ประชาสัมพันธ์ การส ารวจ สอบถาม ร้านขายยาพร้อมทั้งมีแผนการพัฒนาศักยภาพ การดูแลให้ค าแนะน าร้าน ขายยาในการจ่ายยาจิตเวช ปัจจุบันยังไม่มีผู้ปุวยเข้าร่วมโครงการ 
Smart Hospital โรงพยาบาลพัฒนาตาม เกณฑ์ Smart Tools ผ่านเกณฑ์ 2 ใน 3 ข้อ จ านวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 33.33 Smart Service ผ่าน เกณฑ์ 4 ใน 5 ข้อ จ านวน 9 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ Smart Hospital ทั้ง 3 มิติ จ านวน 3 แห่ง ร้อยละ 33.33  
การด าเนินงานตามภารกิจพนื้ที่ (Area base) กลุ่มเปูาหมายเด็กอายุ ๖-๗ ปี ทั้งหมด 4,558 คน  อยู่ในพื้นที่จริง จ านวน ๔,๐๔๑ คน เด็กได้รับการเสริมสร้างพัฒนาการและระดับสติปัญญาโดยโปรแกรม  Triple - P ร้อยละ ๔๗.๗๗ ได้รับการเสริมสร้างพัฒนาการและระดับสติปัญญาด้วยคู่มือฝึกทักษะเพิ่ม IQ  ใน ระหว่างปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ถึง ๒๕๖๒ จังหวัดยโสธรได้จัดอบรมการใช้คู่มือเสริมสร้างพัฒนาการและระดับ สติปัญญาด้วยคู่มือฝึกทักษะเพิ่ม IQ แก่ครูประจ าชั้นศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย และครูประจ าชั้นอนุบาลที่สังกัด กระทรวงศึกษาและเอกชนเพื่อด าเนินการจัดกิจกรรมในเด็กเปูาหมายตั้งแต่ศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย และชั้น อนุบาลที่สังกัดกระทรวงศึกษาและเอกชน และในปี 2563 จัดอบรมครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทุกโรงเรียน จ านวน 416 โรงเรียน เพื่อเพิ่มความรู้
การใช้คู่มือการฝึกทักษะเพิ่ม IQ หลักสูตร 2 วัน จ านวน  3 รุน (แผนการจัดอบรม ช่วงเดือนพฤษภาคม) เด็กกลุ่มเปูาหมายได้รับการประเมินสุขภาวะ และวางแผนการดูแล ส่งเสริมสุขภาพรายบุคคล ร้อยละ ๑๐๐ การเข้าถึงบริการผู้ป่วยจิตเวชเด็ก ร้อยละของผู้ที่มีปัญหาโรคสมาธิ สั้นเข้าถึงบริการสุขภาพจิตร้อยละ ๒๕.๑๘ ผู้ที่มีปัญหาโรคออทิสติกเข้าถึงบริการสุขภาพจิตร้อยละ 55.14  การด าเนินงานตามค ารับรองการปฏิบัติราชการ (PA
TIDA4I ค้นพบมากไม่เป็นไร ยิ่งมากยิ่งดี ข้อกังวลคือ พบแล้ว ไม่ได้ทำอะไรให้กับเด็ก ฉะนั้น ให้ช่วยกันดูแลเด็กเหล่านี้ด้วย

อัตราความส าเร็จของการรักษาผู้ปุวยวัณโรค รายใหม่ เปูาหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 88 ผลงานร้อยละ 98.24 การค้นพบผู้ปุวยวัณโรคใหม่และกลับเป็นซ้ า ให้ได้ร้อยละ 87.5 ของค่าประมาณการ(๑๕๓ ต่อประชากรแสนคน) ผลงานร้อยละ 30.4 โดยมีการ ด าเนินการที่ส าคัญคือการคัดกรองโดย CXR กลุ่มเสี่ยง ในพื้นที่เสี่ยงทางระบาดวิทยา จ านวน ๒๐,๐๒๙ ราย ด าเนินการคัดกรองด้วย CXR แล้ว จ านวน ๑๒,๔๘๐ รายคิดเป็นร้อยละ ๖๒.๓ ส่วนการคัดกรองค้นหาผู้ปุวย วัณโรคในเรือนจ า โดยวิธี CXR จ านวน ๑,๘๖๒ ราย แล้วเสร็จวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๒ พบปอดผิดปกติ ๙๐ ราย ส่งตรวจ AFB/PCR  พบผู้ปุวย ๑๕ รายซึ่งรวมกับผู้ปุวยวัณโรคที่ก าลังรักษาเดิม ๔ ราย และพบใหม่อีก ๑ ราย ปัจจุบันเรือนจ าจังหวัดยโสธร มีผู้ปุวยวัณโรคทั้งหมด ๒๐ ราย และทุกรายปูอนยาโดยเจ้าหน้าที่ทุกวัน 
RDU การใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์การใช้ยาอย่างสมเหตุผล(RDU)ขั้นที่ 1 จ านวน 9 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 และผ่าน RDU ขั้นที่ 2 จ านวน 8 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 88.88 และผ่าน RDU ขั้นที่ 3 จ านวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 55.55 และมีการด าเนินการ RDU Community และผ่านเกณฑ์ระดับ (เปูาหมายอย่างน้อย ๑ อ าเภอ) จ านวน 4 อ าเภอ ได้แก่


อ าเภอเลิงนกทา กุดชุม  ทรายมูล และมหาชนะชัย AMR มีโรงพยาบาล 1 แห่งที่ต้องด าเนินการ ระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ (Integrated AMR Management System) คือ โรงพยาบาลยโสธร ผลการประเมิน ระดับปานกลาง (Intermediate)  คิดเป็นร้อยละ 100 โดยมี โอกาสในการพัฒนาเรื่องกลไกการจัดการ  การดื้อยาต้านจุลชีพ(antimicrobial resistance: AMR) อย่างบูรณาการและเรื่องการควบคุมก ากับการใช้ยา รวมถึงปัญหาการติดตามการด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดลดลง ซึ่ง รอประเมินในเดือนมิถุนายน  2563
การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ(พชอ.) ตามนโยบาย  วาระคน ยโสธร อยู่ดีมีสุข มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ าเภอ ครบทุกอ าเภอและมีประเด็นการพัฒนาที่ ครอบคลุมตามบริบทของพื้นที่  อ าเภอละ ๒-๔ ประเด็น   มีกระบวนการติดตามในเวทีการประชุมกรมการ จังหวัด และเวทีการประชุม กวป. ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบ UCCARE เฉลี่ยภาพรวมอยู่ใน ระดับ ๔  มีแผนการเยี่ยมเสริมพลังและประเมินในระดับจังหวัดในช่วงเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๓
การพัฒนา คุณภาพ รพ.สต.ติดดาว มี รพ.สต.ที่ผ่านเกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว จ านวน ๗๕ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๖๖.๙๖ ในปี ๒๕๖๓ ก าหนดเปูาหมายการประเมิน รพ.สต.ติดดาว จ านวน ๓๔ คิดเป็นร้อยละ ๙๗.๓๒ และรับรองคุณภาพ ซา ้(Re accredit) จ านวน ๑๙ แห่ง โดยกระบวนการประเมินมุ่งเน้นกระบวนการสนับสนุนของทีมพี่เลี้ยงระดับ อ าเภอ  โดยก าหนดเป็น PA KPI Ranking  และมีแผนออกประเมิน ๒ รอบ ในเดือนเมษายนและเดือน สิงหาคม ๒๕๖๓ 
การพัฒนา อสม.เปน อสม.หมอประจ าบาน จังหวัดยโสธร มี จ านวน อสม.ทั้งสิ้น ๑๐,๗๔๗ คน มีเปูาหมายที่จะพัฒนา อสม.เป็นหมอประจ าบ้าน จ านวน ๙๔๔ คน  อบรม เสร็จสิ้น ร้อยละ ๑๐๐ มีผู้ปุวยกลุ่มเปูาหมายที่ต้องได้รับการดูแลทั้งสิ้น จ านวน ๒,๘๓๒ คน อสม.๑ คน ดูแลผู้ปุวย กลุ่มเปูาหมายเฉลี่ย ๓ คน อยู่ระหว่างด าเนินการประเมินผลกลุ่มเปูาหมายที่ได้รับการดูแลจาก อสม.หมอ ประจ าบ้านเพื่อพัฒนาให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี   
ประเด็นเขตสุขภาพ  อัตราปุวยโรคเบาหวาน  ๕,๕๑๐.๐๑ ต่อแสนประชากร อัตราปุวยโรคความ ดันโลหิตสูง ๘,๓๘๘.๐๘ ต่อแสนประชากร พบ ผู้ปุวยเบาหวานรายใหม่ ร้อยละ ๑.๔๙ ผู้ปุวยความดันโลหิตสูง รายใหม่ ร้อยละ ๓.๕๖ กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ร้อยละ ๘.๐๑ กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง  ร้อยละ ๒๑.๓๑ ผู้ปุวย เบาหวานควบคุมระดับน้ าตาลได้ดี ร้อยละ ๑๙.๔๒ ผู้ปุวยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตสูงได้ดี ร้อยละ ๕๔.๔๑ ได้น ายุทธศาสตร์การเร่งรัดการเพิ่มคุณภาพ การดูแลรักษาผู้ปุวย ยุทธศาสตร์เชิงรุก การ ประสานความร่วมมือเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพที่ดี สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ให้สามารถดูแล ตนเอง  การพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และเข้าสู่ระบบการคัดกรองที่ทันท่วงที ก่อนที่จะปุวย รวมถึงการลดการ เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค โดยให้ประชาชนและภาคีเครือข่ายได้รับการถ่ายทอดความรู้ และสนับสนุนเพื่อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสมโดยใช้กระบวนการ ๗ ขั้นตอน  โดยเน้นหนัก หลัก ๓อ.  ๒ส. คืออาหาร ออกก าลังกาย อารมณ์ บุหรี่ สุรา ยาเสพติด ลดหวาน มัน เค็ม และจัดกิจกรรม ๔ Intervention ส่งเสริมสุขภาพในคลินิกโรคเรื้อรัง ประกอบด้วยการใช้เทคนิคให้ค าปรึกษา สร้างแรงจูงใจใน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Motivational Interviewing) การวัดความดันโลหิตที่บ้าน (Home BP) การ จัดการอาหารที่เหมาะสม การจัดการเรียนรู้ในชุมชน และน าสมาธิบ าบัดแบบ SKT และแพทย์วิถีธรรม มาเป็น ทางเลือกในการจัดบริการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง  CKD มีคลินิกชะลอไตเสื่อม  จ านวน ๙ แห่ง และมี หน่วยให้บริการบ าบัดทดแทนไต จ านวน ๖ แห่ง (HD ๒ แห่ง/HD&CAPD ๔ แห่ง) มีเครื่องฟอกเลือดด้วย เครื่องไตเทียมจ านวนทั้งหมด ๔๗ เครื่อง มีผู้ปุวยที่ให้การบ าบัดทดแทนไตโดยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไต เทียม จ านวน  ๓๐๕ ราย และมีรอคิวในระบบ จ านวน ๒๘๖ ราย และมีผู้ปุวยล้างไตทางช่องท้องจ านวน ๓๗๒ ราย ไม่มีผู้ปุวยรอวางสาย ยังขาดบุคลากร  สหวิชาชีพ ๕ สาขาหลักที่จ าเป็นต้องให้บริการ เช่น อายุรแพทย์โรคไต, CKD Nurse ส่วนประเด็นการค้นหาและคัดกรอง ในปี ๒๕๖๒ จังหวัดยโสธร มีการคัดกรอง CKD ในกลุ่มปุวยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ ๖๐.๘๐ ผลงานยังต่ ากว่าเปูาหมาย  (>ร้อยละ ๘๐) ทุกอ าเภอ และมีอัตราการลดลงของ eGFR < 5 คิดเป็นร้อยละ ๕๖.๕๒ 
งบประมาณ  ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธรได้รับการโอนงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 30,676,522 บาท จ าแนกเป็นงบด าเนินงาน 30,107,812 บาท งบเงินอุดหนุน 401,613 บาท และงบ เบิกแทนกัน 167,097 บาท มีการเบิกจ่ายงบประมาณทุกหมวดในภาพรวมคิดเป็น ร้อยละ 59.18 แยกเป็น งบด าเนินงาน ร้อยละ 59.50 ,งบเงินอุดหนุน  ร้อยละ 52.37 ,งบเบิกแทนกัน ร้อยละ 17.36  ส่วนลงทุน ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕63 จังหวัดยโสธร ได้รับการแจ้งจัดสรรรายการแต่ยังไม่มีการโอนงบประมาณ จ านวน ทั้งสิ้น 146 รายการ แยกเป็นรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง จ านวน 12 รายการ และรายการครุภัณฑ์และ ครุภัณฑ์การแพทย์ จ านวน 134 รายการ  อยู่ในระหว่างการจัดซื้อจัดจ้างขั้นตอนการประกาศผู้ชนะการเสนอ ราคา ระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (EOC) ประเด็น COVID-๑๙  การเตรียมการรับการระบาดในระยะที่  ๑ และ ๒ มีการเปิดศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข กรณีโรคติดเชื้อไวรัส     โคโรนา 2019 โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธร เป็นผู้บัญชาการเหตุการณ์ ได้มีการสั่งเปิดกล่องปฏิบัติการใน ทุกหน้าที่ เช่น สื่อสารความเสี่ยง กล่อง SAT กล่อง Logistic เตรียมทีมการรักษาด้านพยาบาลให้พร้อม คัด กรองกลุ่มเสี่ยงและรายงานทุกวัน  การเตรียมการรองรับการระบาด ระยะที่ ๓ จัดเตรียมห้องแยกทุก โรงพยาบาลส าหรับผู้ปุวย PUI จ านวน ๗๙ ห้อง ส าหรับผู้ปุวยที่ต้อง Admit ถ้าไม่พบเชื้อ ให้ Home Quarantine ต่อจนครบ ๑๔ วัน  จัดเตรียม cohort ward ส าหรับผู้ปุวย Confirm จ านวน ๑๓๐ เตียง ส าหรับผู้ปุวยหนักให้ส่งต่อ โรงพยาบาลยโสธร ซึ่งมีจ านวน ๒๔ เตียง และเครื่องช่วยหายใจจ านวน ๒๔ เครื่อง หากมีผู้ปุวยเกิน ๑๓๐ ราย ประสานเขตสุขภาพที่ ๑๐


ตามหนังสือที่อ้างถึงกรณีให้เฝ้าระวังผู้ที่เดินทางมาจากกรุงเทพฯและจังหวัดปริมณฑล เพื่อพิจารณาว่าเข้าข่าย PUI หรือไม่รวมทั้งให้แยกกักที่บ้าน 14 วัน นั้น จากการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ มีคำแนะนำดังนี้
1) ให้ยึดแนวทางการคัดกรองใหม่ที่ประกาศวันที่ 21 มี.ค 2563 เป็นหลัก
2) สำหรับผู้ที่เดินทางมาจาก กทม.และปริมณฑล ให้คัดกรองและซักประวัติปัจจัยเสี่ยงทุกรายเช่นเดิม เน้นต้องมาจากแหล่งเสี่ยงเท่านั้น ตามที่ กทม.ประกาศ เช่น สนามมวย ผับย่านทองหล่อ แหล่งที่มีคนชุมนุมจำนวนมาก ( 200 คนขึ้นไป) และมีอาการเข้าข่ายจึงจะเป็น PUI นะครับ ไม่ใช่ทุกคนที่เดินทางมาจะเสี่ยงและเข้าข่ายหมด เพราะแลปและ รพ.คงรับไม่ไหว เน้นคือ ต้องมีความเชื่อมโยงทางระบาดวิทยากับแหล่งโรค หรือผู้ป่วยเข้าข่าย/ผู้ป่วยยืนยัน เป็นเบื้องต้น
3) และที่สำคัญต่อมาคือ จังหวัดยโสธร โดย คกก.โรคติดต่อจังหวัด จะต้องประกาศแนวทางและกำหนดพื้นที่เสี่ยงเช่นเดียวกับ กทม.ก่อนนะครับ ซึ่งขณะนี้ยังไม่ประกาศ ซึ่งต้องติดตามต่อไป
4) กรณีมีผู้สงสัย/เฝ้าระวังที่เดินทางมาจากอุบลฯ ตามประกาศของจังหวัดอุบลฯก็ใช้แนวทางเดียวกัน เน้นความเชื่อมโยงทางระบาดวิทยาก่อนนะครับ ถ้าไม่ใช่ก็แนะนำรักษาตามอาการ และเฝ้าสังเกตอาการตัวเองที่บ้าน หากผิดปกติก็แจ้ง จนท.สาสุข ใกล้บ้านทันที
5) เพิ่มเติมครับ กรณีตรวจพบเชื้อยืนยัน COVID-19 เพียง 1 แลป ก็ถือว่าเป็นผู้ป่วยยืนยัน 

No comments:

Post a Comment