1-2 ก.ย.65 ณ เขาใหญ่ เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลงาน เด็กเกิดน้อย ด้อยคุณภาพ IQ ต่ำ แรงงานป่วย ผู้สูงอายุ ติดเตียง
วันที่ 31 สิงหาคม - 2 กันยายน 2565 นายพันธุ์ทอง จันทร์สว่าง สาธารณสุขอำเภอเลิงนกทา
และคณะ ประชุม การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (SERVICE PLAN) และ สรุปผลการพัฒนางานสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 10 ณ โรงแรม พาโค่ บาย โบนันซ่า เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
ประธานในงาน โดย นพ.ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
สุขภาพที่ 10
(ว่าที่ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข)
นพ.ธีระพงษ์ แก้วภมร
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดยโสธร นำคณะ จากจังหวัดยโสธรเข้าร่วมงาน
ร่วมกับ จังหวัด และ
ศูนย์วิชาการ ในเขตสุขภาพที่ 10 จำนวน 300 คน
กลุ่มเด็ก
1. พัฒนาการเด็ก IQ & EQ ประเทศ = 102.8 เขต 10 IQ = 98.44
(ต่ำที่สุดของประเทศ คือ จ.ยโสธร IQ เด็ก ป. 1
= 97.11)
2.
งานโภชนาการ มี เด็ก ผอม ร้อยละ 5.7 (เป้า ร้อยละ 5) จ.ยโสธร ร้อยละ 4.7 ผ่าน
3.
เด็กอ้วน 10.52 (เป้า ร้อยละ 10) จ.ยโสธร ร้อยละ 11.9 ไม่ผ่าน
4.
วัยเรียนสูงดีสมส่วน 61 (เป้า ร้อยละ 66) จ.ยโสธร ร้อยละ 61.8 ต่ำ
5.
วัยเรียนได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก 36.35 (เป้า ร้อยละ
70) จ.ยโสธร ร้อยละ 24.5 ต่ำมาก
6.
ควบคุม เบาหวาน ได้ 28.55 (เป้า ร้อยละ 40 ) จ.ยโสธร ร้อยละ 22 ต่ำมาก
7. ควบคุม ความดันฯ ได้ 61.83 (เป้า
ร้อยละ 60 ) จ.ยโสธร ร้อยละ 59 ไม่ผ่าน
แนวทางการจัดทำแผน ปี 2566
Priority สำคัญ
พัฒนาการเด็ก IQ & EQ เขต 10 รวมพลังให้ IQ เกิน 100
ในเด็กวัยเรียน โภชนาการ รวม งานสุขภาพจิต
วัยทำงาน งาน NCD
วัยสูงอายุ : ผู้สูงอายุ 1,000 คน นอนติดเตียง 6 คน
BMTEC เน้นกิจกรรม ผู้สูงอายุ ด้านร่างกาย จิตใจ สมอง : บูรณาการดูแลผู้สูงอายุครบด้าน BMTEC (Brain-Mental &
Musculoskeletal-Teeth-Eye & Ear-Cardio)
การจัดระบบบริการแบบไร้รอยต่อ สำหรับผู้สูงอายุ 3 กลุ่มโรค ( Stroke STEMi Hip Fracture )
วิสัยทัศน์ เขตสุขภาพที่ 10
เป็นเขตสุขภาพชั้นนำด้านระบบสุขภาพปฐมภูมิ และ เศรษฐกิจสุขภาพ ที่รวมพลังพลังสังคม
เพื่อประชาชนสุขภาพดี
วิสัยทัศน์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร
เป็นองค์กรชั้นนำด้านการจัดการระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
เพื่อประชาชนสุขภาพดี
เจ้าหน้าที่มีความสุข
ก่อนถ่ายโอน ภายใต้หลักการ
1. ประชาชน : ได้รับบริการทุกประการ แบบ ไร้รอยต่อ
2. ผลลัพธ์ : ลดป่วย ลดตาย ลดแออัด ลดรอคอย
รพ.สต. เป็น คนขับรถ พา ประชาชนไปสู่จุดหมาย
สสจ.สสอ. เป็นผู้ Check ระบบ ตรวจ ประเมิน M & E ให้เป็นไปตามมาตรฐาน เติมลม เปลี่ยนยาง
ดูน้ำมันเบรก กระจกส่องหลัง กระจกหน้า ใบปัดน้ำฝน
หากรถเก่า ซ่อม ซ่อมไม่ได้ เปลี่ยนรถคันใหม่ที่ทันสมัยได้
บทบาทหลังการถ่ายโอน
ประชาชนต้องรับบริการที่ดีกว่าเดิม หรือ อย่างน้อยต้องเท่าเดิม
ประชาชน ได้รับบริการทุกประการ แบบ ไร้รอยต่อ
ลดป่วย ลดตาย ลดแออัด ลดรอคอย
รพ.สต. เป็นคนขับรถ พา ประชาชนไปสู่จุดหมาย
อบจ. เป็นผู้ Check ระบบของรถ เติมลม เปลี่ยนยาง ดูน้ำมันเบรก กระจกส่องหลัง กระจกหน้า ใบปัดน้ำฝน
หากรถเก่า ซ่อม ซ่อมไม่ได้ เปลี่ยนรถคันใหม่ที่ทันสมัยได้
สสจ.สสอ. เป็นผู้ Check ระบบ ตรวจ ประเมิน M & E ให้เป็นไปตามมาตรฐาน
สรุป บทบาท ภารกิจ ของ รพ.สต. ที่คงเดิม คือ ให้เป็นไปเพื่อประโยชน์ ของประชาชน
ภารกิจ ที่ถ่ายโอน ต้อง ยึดถือ ตามระเบียบ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เพื่อเป็นหลักประกันว่า
ประชาชนจะได้รับบริการที่ไม่น้อยกว่าเดิม
เป็น เจ้าพนักงาน ตามระเบียบ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้อง
เป็น เจ้าหนาที่ของรัฐ ตามระเบียบ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
เช่น การแยกกักผู้ป่วย พรบ.ควบคุมโรค หากไม่ป่วย ไม่สามารถบังคับประชาชนได้
ต้องออก พรก.ฉุกเฉิน สามารถใช้บังคับกับทุกคน ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ เป็นต้น
จังหวัดมุกหาร รอบที่ 1 ถ่ายโอน 33 แห่ง รอบที่ 2 ถ่ายโอน 45 แห่ง
กรอบพิจารณา ยึด 3 S ในการมอบหมายภารกิจ
กสพ. กรรมการพัฒนาสาธารณสุขระดับพื้นที่
ระดับอำเภอ ในขณะที่ยังไม่มีองคืกร รองรับ ให้ใช้กลไก พชอ.
เป็น องค์กร กลั่นกรอง และ ทบทวนแผนปฏิบัติราชการ ของ รพ.สต.
ยึด 3 S ในการมอบหมายภารกิจ
Structure System Staff
No comments:
Post a Comment