วันที่
20-21 พฤษภาคม 2556 ยโสธรจัดเวทีวาชาการBest
Practiceงานยาเสพติดปี2556
ผมนายพันธุ์ทอง
จันทร์สว่าง และคณะเข้าร่วมประชุม การพัฒนาระบบงานยาเสพติด ด้านการบริหารจัดการ
เพื่อแลกเปลี่ยน Best Practice Model ประจำปี 2556 ในวันที่ 20 - 21 พฤษภาคม2556 ณ โรงแรม เจพี เอ็มเมอรัลด์ อำเภอเมืองยโสธร
ประธานในงาน โดย
ภก.องอาจ แสนศรี รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดยโสธร
ตัวแทนจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคำเขื่อนแก้ว
นำเสนอ โดย นางมนัชยา กองทำ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล แคนน้อย เรื่อง
ทั้งนี้ มีผลงานวิชาการที่ส่งข้าร่วม
นำเสนอBest
Practiceงานยาเสพติดปี2556 จาก สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
และ โรงพยาบาลทุกแห่ง รวม 17 เรื่อง ทั้งด้านการบริหารจัดการ
และด้านบำบัดรักษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วย หลังการบำบัด ประกอบด้วย
เรื่องที่ 1. ยุทธศาสตร์กองทุนแม่
แก้ปัญหายาเสพติด บ้านคุ้ม ตำบลคูเมือง อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
นำเสนอ
โดย นายศุภเกียรติ บุญทศ ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอมหาชนะชัย
เรื่องที่ 2. ใจรวมใจ
ห่างไกล ยาเสพติด : ให้ความสำคัญ ลดความรู้สึกที่เป็น ตราบาป
ออกจากชุมชน
นำเสนอ
โดย นางพวงเพชร ผิวอ่อน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลทรายมูล
เรื่องที่ 3. การเข้าค่ายบัด
ที่ดีมีประสิทธิภาพ อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร
นำเสนอ
โดย นายนิวัฒน์ ศรีเล็ก สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกุดชุม
เรื่องที่ 4. โปรแกรมการบำบัดแบบสั้น
ร่วมกับการให้คำปรึกษา ผู้ติดสุรา
นำเสนอ
โดย นางเยาวเรศ บุญรัตนสุธโท พยาบาลวิชาชีพ
ชำนาญการ โรงพยาบาลคำเขื่อนแก้ว
เรื่องที่ 5. เปลี่ยนได้
ถ้าใจต้องการ the secret of life อำเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร
วัตถุปะสงค์หลัก คือ
ป้องกันการกลับเสพซ้ำ
นำเสนอ
โดย นางธัญญาภัทร์ ทองมูล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลค้อวัง
เรื่องที่ 6. การพัฒนาการรับรู้ความสามารถของตนเอง
ในการติดตามหลังการบำบัด กรณีผู้ผ่านการบำบัดแบบค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
บทเรียน
การตัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับผู้ป่วย จะส่งผลให้สำเร็จ
กิจกรรมกีฬาฟุตซอล อำเภอป่าติ้ว
จังหวัดยโสธร เน้นกิจกรรมในสถานศึกษา
นำเสนอ
โดย นางราศรี อาษาจิตร พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ โรงพยาบาลป่าติ้ว
เรื่องที่ 7. การค้นหา
กลุ่มเป้าหมาย โดยการมีส่วนร่วม อำเภอไทยเจริญ
จังหวัดยโสธร
บ้านนาเฮือง นาช้างเฒ่า
เขตรอยต่อ อำนาจเจริญ ป่าติ้ว ไทยเจริญ
นำเสนอ
โดย นส.เจนจิรา สาธารณสุขอำเภอไทยเจริญ
เรื่องที่ 8. Area of Excellent การปรับเปลี่ยนความคิด ในการบำบัด อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร
นำเสนอ
โดย นางสุปราณี พลไชย พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ โรงพยาบาลยโสธร
ใช้ครอบครัว
และชุมชน เป็นหลัก ในการป้องกันการกลับไปเสพยาซ้ำ
CBT Cognitive
behavior Therapy ใช้ในกลุ่มผู้เสพ
Satier ใช้ในกลุ่มผู้ติดสารเสพติด
เรื่องที่ 9. การสร้างวิทยากรชุมชน
ในการค้นหากลุ่มเป้าหมาย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
นำเสนอ
โดย นางมนัชยา กองทำ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล แคนน้อย
กิจกรรม ล้อมรั้วด้วยรัก ฟูมฟักด้วยความดีสร้างเสริมทุกพื้นที่
คืนคนดีสู่ชุมชน
เรื่องที่ 10. การค้นหา
คัดกรอง ผู้เสพ ผู้ติดยา ในสถานศึกษา
นำเสนอ
โดย นายพุฒินันท์ บุญทา นักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกุดชุม
เรื่องที่ 11. สุดยอดทีมมือปราบ สุดเยี่ยมทีมบำบัดมืออาชีพ มาสเตอร์คีย์
เวทีบำบัดยาเสพติด แบบบูรณาการในระบบสมัครใจ
นำเสนอ
โดย นส.จิตลดาวรรณ โสวะภาสน์ นักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเลิงนกทา
เรื่องที่ 12. เยาวชนต้นกล้า คุณธรรมป้องกันยาเสพติด อำเภอป่าติ้ว
จังหวัดยโสธร
นำเสนอ
โดย นายปานพกรณ์ หูตาชัย นักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
เรื่องที่ 13. การบำบัดรูปแบบ Matrix Program ประยุกต์ ด้วยหลัก 3 ป.
อำเภอไทยเจริญ จังหวัดยโสธร
นำเสนอ
โดย นส.จันทร์เพ็ญ นิยมพงษ์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ โรงพยาบาลไทยเจริญ
เรื่องที่ 14. ระบบการดูแลติดตาม เยี่ยม ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด หลังการบำบัด อำเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร
นำเสนอ
โดย นส.วิภาดา ป้องปลา นักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขอำเภอค้อวัง
เรื่องที่ 15. หยุดเพื่อขับ
อบเพื่อสร้างกำลัง: การฟื้นฟูด้วยการอบสมุนไพรและการปฏิบัติตนวิถีพุทธ อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร เน้นการ ทำสมาธิ เช้า เที่ยง
เย็น ทุกวัน ครั้งละ 5 นาที ( ทำให้พอดี ก้ดีพอ)
ร่วมกับทานอาหารสุขภาพ
และการบำบัดด้วยสมุนไพร
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ไม่ตำหนิ ไม่ลงโทษ ไม่ล้มเลิกความตั้งใจ
นำเสนอ โดย นางพาณี ขอสุข พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ โรงพยาบาลกุดชุม
เรื่องที่ 16.การค้นหา คัดกรอง
ผู้เสพ ผู้ติดยา ในสถานศึกษา อำเภอทรายมูล
จังหวัดยโสธร
นำเสนอโดยคุณตี้
นายพุทธินันท์ บุญทา นักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขอำเภอทรายมูล
ผมไม่มีพ่อ เพราะพ่อผม
ติดยาเสพติด ฉะนั้น การปฏิบัติงานงานยาเสพติด ผมจึงปฏิบัติงานด้วยใจรัก
ปฏิบัติงานแบบ
นุ่มนวล ใช้วิธีของปู่เย็น กลุ่มเป้าหมายในชุมชน คือลูกรัก ของผม
ผมให้ความรักกับเด็กๆเหล่านี้ทุกคน เพราะโดยพื้นฐานแล้ว
เจ้าหน้าที่สาธารณสุขของพวกเรา เป็นคนดีที่โลกรอ คือ มีพื้นฐานด้านการปฏิบัติด้วยความปรารถนาดี
ต่อทุกๆคนอยู่แล้ว
ผมขออาสาเป็นไปรษณีย์ นำความรัก ความปรารถนาดี
จากผู้ใหญ่ ไปสู่ ลูกๆ ในชุมชน
เรื่องที่ 17.บูรณาการฉับไว
แก้ไขปัญหา ยาเสพติด :หนองไม้ตาย โมเดล :การค้นหา คัดกรอง ผู้เสพ ผู้ติดยา
แบบบูรณาการ อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร
นำเสนอโดย
นางนิตยา รัตนวัน นักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง
จุดเด่น คือ การปิดล้อมพื้นที่เป้าหมาย
ด้วยปฏิบัติการทางจิตวิทยา ส่งผลให้
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมด้วยความสมัครใจอย่างแท้จริง
กลวิธี
ที่สำคัญคือ นายอำเภอ นำทีม ปฏิบัติงานขับเคลื่อนด้วยตนเอง และให้กำลังใจ
ทีมงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ ชุมชน อุ่นใจ ได้ ลูกหลานกลับคืน เริ่ม
ปฏิบัติงานใน ตำบลทุ่งนางโอก เป็นตำบลแรก และ ในหมู่บ้านเป้าหมายหลัก คือ
บ้านหนองไม้ตาย จึง เป็นที่มาของคำว่า หนองไม้ตาย โมเดล
ให้ความสำคัญ ในทุกมิติ
ทั้งการคัดกรอง บำบัด ฝึกอาชีพ ให้ เป้าหมาย และครอบครัว รวมทั้งชุมชนด้วย ควบคู่ไปกับ
การประชาสัมพันธ์ อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งสอดแทรกความรู้ด้านยาเสพติด
ในทุกๆงานในชุมชน
ครอบครัวไหน
ที่ผ่านเกณฑ์ จะได้รับมอบ ธงสีขาว พิธีมอบ โดย ผู้บริหารระดับสูง
จัดเวทีการนำเสนอผลงาน Best Practice งานยาเสพติด
ได้ด้วยดีโดย
นางนิภาภรณ์ ภาคพรหม
หัวหน้ากลุ่มงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร
นางพิสมัย รัตนเดช นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร
นางสิริพร
พงศ์พัฒนโชติ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร
นาย
นพพร รากวงศ์ นักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร น้องไตเติล
และคณะ
ขอแสดงความยินดี กับผู้ที่ได้รับรางวัล
จากการนำเสนอผลงาน Best Practice ในเวทีนี้ทุกๆคน
ขอบพระคุณ
ผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่าน ส่วนผู้ร่วมประชุม จาก สำนักงานสาธารณสุขอำเภอคำเขื่อนแก้ว
ประกอบด้วย
๑. นางมนัชยา กองทำ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แคนน้อย
๒.นส.สุภาพร
บุญเชื้อ นักวิชาการสาธารณสุข รพ.สต. แคนน้อย
๔.นายณรงค์เดช บุญไธสง เจ้าพนักงานเภสัชกรรม รพ.สต.ดงแคนใหญ่
๕. นายอรุณ ฉายแสง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บกน้อย
๔.นายณรงค์เดช บุญไธสง เจ้าพนักงานเภสัชกรรม รพ.สต.ดงแคนใหญ่
๕. นายอรุณ ฉายแสง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บกน้อย
๖.
นางรัศมี โซ่เงิน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.นาหลู่
๗. ว่าที่ ร.ต.ทวีชัย ค้าขาย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.โพนสิม
๘. นางปราณี ศรีแสน นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ รพ.สต. กุดกุง
๙. น.ส. กนกวรรณ ชาวอุบล เจ้าพนักงานสาธารณสุข รพ.สต.สงเปือย
๑๐. นางสาวพรทิวา ทองทา นักวิชาการสาธารณสุข รพ.สต. กู่จาน
๑๑. นางกิติชา เดชกิตติวัชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต. เหล่าไฮ
๑๒. นายธานินทร์ ซื่อตรง เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน รพ.สต. โพนทัน
๗. ว่าที่ ร.ต.ทวีชัย ค้าขาย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.โพนสิม
๘. นางปราณี ศรีแสน นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ รพ.สต. กุดกุง
๙. น.ส. กนกวรรณ ชาวอุบล เจ้าพนักงานสาธารณสุข รพ.สต.สงเปือย
๑๐. นางสาวพรทิวา ทองทา นักวิชาการสาธารณสุข รพ.สต. กู่จาน
๑๑. นางกิติชา เดชกิตติวัชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต. เหล่าไฮ
๑๒. นายธานินทร์ ซื่อตรง เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน รพ.สต. โพนทัน
๑๓.
นายบุญทศ ประจำถิ่น จพ.สาธารณสุขชำนาญงาน รพ.สต.ดงเจริญ
No comments:
Post a Comment