11/14/14

5-6 พย.2557: ยโสธรตั้งผู้จัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย_เพื่อบรรลุKPIสาธารณสุข3 ยุทธศาสตร์_18ด้าน


5-6 พย.2557: ยโสธรตั้งผู้จัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย_เพื่อบรรลุKPIสาธารณสุข3 ยุทธศาสตร์_18ด้าน

วันที่ 5-6 พฤศจิกายน 2557 ผม นายพันธุ์ทอง  จันทร์สว่าง เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการบูรณาการแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2558 ณ ห้องประชุม โรงแรม ภูดารา รีสอร์ท อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย

ประธานการประชุมและมอบนโยบาย โดย นายแพทย์สุใหญ่ หลิ่มโตประเสริฐ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดยโสธร
 

            ผู้จัดการบูรณาการการจัดทำแผน หรือ ผู้จัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย (Provincial&District Health Manager)
 

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย 

นายแพทย์สุใหญ่ หลิ่มโตประเสริฐ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดยโสธร ได้มอบหมายให้มีผู้จัดการการจัดทำแผน

การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยแบบบูรณาการ แยกตามกลุ่มวัย ดังนี้

1. กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี) ผู้จัดการบูรณาการการจัดทำแผน โดย นางจินตนา รอดอ่อน หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาล  

2. กลุ่มเด็กวัยเรียน (5–14 ปี) ผู้จัดการบูรณาการการจัดทำแผน โดย ภก.ประวุฒิ   ละครราช หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข  

3. กลุ่มเด็กวัยรุ่น (15 – 21 ปี) ผู้จัดการบูรณาการการจัดทำแผน โดย นส.จรรยา ดวงแก้ว หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ  

4. กลุ่มเด็กวัยทางาน (15 – 59 ปี) ผู้จัดการบูรณาการการจัดทำแผน โดย นางประชุมพร กวีกรณ์ หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ  

5. กลุ่มผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) และกลุ่มคนพิการผู้จัดการบูรณาการการจัดทำแผน โดย นางสุนทรี รัศมิทัต หัวหน้ากลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อม

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย 

กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี) กลไกขับเคลื่อนที่สำคัญ ที่จะส่งผลต่อความสเร็จคือ MCH Board

21 ตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ตามยุทธศาสตร์บูรณาการ 21 ตัวชี้วัด 21 KPI กระทรวงสาธารณสุข

ตัวชี้วัดที่ 1. อัตราส่วนการตายมารดา ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน

ตัวชี้วัดที่ 2. ร้อยละของเด็กอายุ 0 - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85

ตัวชี้วัดที่ 3. ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน

ตัวชี้วัดที่ 4. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้าของเด็กอายุต่ากว่า 15 ปี

ตัวชี้วัดที่ 5. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 - 19 ปี

ตัวชี้วัดที่ 6. ความชุกผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15 - 19 ปี

ตัวชี้วัดที่ 7. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน

ตัวชี้วัดที่ 8. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ

ตัวชี้วัดที่ 9. ร้อยละของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์

ตัวชี้วัดที่ 10. ร้อยละของอาเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่น

                        อย่างมีคุณภาพ

ตัวชี้วัดที่11. การส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเขตสุขภาพลดลง

ตัวชี้วัดที่ 12. ร้อยละของอาเภอที่สามารถควบคุมโรคติดต่อสาคัญของพื้นที่ได้

ตัวชี้วัดที่ 13. ร้อยละของอาเภอชายแดนสามารถควบคุมโรคติดต่อสาคัญของพื้นที่ชายแดน

ตัวชี้วัดที่ 14. ระดับความสาเร็จของการดาเนินงานงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์

ตัวชี้วัดที่ 15. อัตราการหยุดเสพ (remission rate)

ตัวชี้วัดที่ 16. มีเครือข่ายนักกฎหมายที่เข็มแข็งและบังคับใช้กฎหมายในเรื่องที่สาคัญ

ตัวชี้วัดที่ 17. มีระบบฐานข้อมูลและสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ระบบเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

ตัวชี้วัดที่ 18. แผนพัฒนาบุคลากรอย่างมืออาชีพในระดับจังหวัด

ตัวชี้วัดที่ 19. ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่

ตัวชี้วัดที่ 20. ลดต้นทุนของยา เวชภัณฑ์ และเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา

20.1 ต้นทุนค่าเวชภัณฑ์ฯของหน่วยงาน

20.2 มูลค่าการจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ฯ ของหน่วยงาน

ตัวชี้วัดที่21. ค่าดัชนีวัดภาพลักษณ์คอรัปชั่นของประเทศ (CPI) มีระดับดีขึ้น

 ยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย 

ประเด็น กลุ่มวัยกลุ่มที่ 1 กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี)

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 1. อัตราส่วนการตายมารดา ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน(ประเทศ 37.6 ยโสธรปี2557=27.65(ทรายมูลตายย1case) kkk =0 )

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 2. ร้อยละของเด็กอายุ 0 - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 (ประเทศ=72.5 ยโสธรปี2557=85.18 kkk=66.67)

KPI ระดับเขต

1.    MCH Board ระดับจังหวัดมีกลไกในการเฝ้าระวังและแก้ปัญหาสุขภาพแม่และเด็ก

(กลไกขับเคลื่อนที่สำคัญ ที่จะส่งผลต่อความสเร็จคือ MCH Board)

2.     ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ร้อยละ 60 (ประเทศ=71.58 ยโสธรปี2557= kkk =59.37 )

KPI ระดับจังหวัด

1.     เด็กแรกเกิด ถึง 6 เดือน กินนมแม่ร้อยละ 50 (ประเทศ=47.5 ยโสธรปี2557=49.75 (kkk = )

2.     ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ ไม่เกิน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60 (ยโสธร=64.68 kkk = )

3.     เด็กอายุ 18 เดือน และ 30 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละ 100 (kkk =66.67 )


ประเด็น กลุ่มวัยกลุ่มที่ 2 กลุ่มเด็กวัยเรียน 5 - 14 ปี ( ที่กระทำกับเป้าหมายในสถานศึกษา)

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 3. ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกินร้อยละ 10

(ประเทศ=9.5 ยโสธร=7.23kkk =11.08)

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 4. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้าของเด็กอายุต่ากว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 ต่อแสน (ยโสธรตาย 19 คน= 8.2 kkk = )

KPI ระดับเขต

1. จำนวนโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 95(kkk = )

2. จำนวนโรงเรียนที่ดาเนินกิจกรรมผ่านเกณฑ์ KPI ระดับจังหวัด ทุกด้าน ร้อยละ 40 (kkk = )

3. จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้าของเด็ก (อายุต่ากว่า15 ปี) ลดลงตามเกณฑ์ในแต่ละพื้นที่เสี่ยง (kkk = )

KPI ระดับจังหวัด

1. โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากและนักเรียนในโรงเรียนได้รับบริการทันตกรรมป้องกันและตามความจ่าเป็น

2. ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-14 ปี) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 80 (ประเทศ 60.7 ยโสธร= kkk = )

3. เด็ก ป.1ทุกคนได้รับการตรวจสายตาและการได้ยินโดยร้อยละ 80 ของเด็กที่มีปัญหาได้รับการช่วยเหลือแก้ไข (kkk = )

4. จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้าของเด็ก ไม่เกินร้อยละ (kkk = )

5. สถานศึกษาดำเนินกิจกรรม อย.น้อย

โรงเรียน มัธยม ร้อยละ 70 (kkk = )

โรงเรียน ขยายโอกาสทางการศึกษา ร้อยละ 50 (kkk = )

โรงเรียน ประถมศึกษา ร้อยละ 15 (kkk = )

6. โรงเรียนที่ดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โรงเรียน อย.น้อยระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 30 (kkk = )

 
ประเด็น กลุ่มวัยกลุ่มที่ 3 กลุ่มวัยรุ่น (15 - 21 ปี)

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 5. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 - 19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อ 1,000 หญิงอายุ 15 - 19 ปี(ประเทศ=51.2 ยโสธร=14.95 kkk = )

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 6. ความชุกผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15 - 19 ปีไม่เกินร้อยละ 13

ประเทศ= 5.59ยโสธร=19.52 kkk = )

KPI ระดับเขต

1. ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้าในวัยรุ่น อายุ 15 - 19 ปี (ไม่เกินร้อยละ 10) (ประเทศ=ยโสธร=kkk = )

2. ร้อยละของเด็กและเยาวชนอายุ 15 - 24 ปี ที่มีการป้องกันตนเองโดยใช้ถุงยางอนามัย เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด (ร้อยละ 67) (ประเทศ=66.7 ยโสธร=KKK =)

3. ร้อยละของผู้สูบบุหรี ในวัยรุ่นอายุ 15 - 18 ปี ไม่เกินร้อยละ 10 (ประเทศ=ยโสธร=kkk = )

KPI ระดับจังหวัด

1. สัดส่วนของสถานศึกษา(สถานประกอบการ) ทีได้รับการตรวจว่าไม่มีการกระท่าผิดกฎหมายควบคุมเครืองดืมแอลกอฮอล์

ในสถานศึกษา ร้อยละ 90 (kkk = )

นอกสถานศึกษา ร้อยละ 50 (kkk = )  

2. ร้อยละของโรงเรียนทีมีการสอนเรืองเพศศึกษา/พฤติกรรมเสียงในโรงเรียนตามเกณฑ์

ปี 2558 : ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 (kkk = )

ปี 2559 : ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 (kkk = )

 
ประเด็น กลุ่มวัยกลุ่มที่ 4 กลุ่มวัยท่างาน (15 - 59 ปี)

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 7.อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคนในปีงบประมาณ 2558) (ประเทศ=ยโสธร=9.07 kkk = )

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 8.อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (ลดลงร้อยละ 10 ภายในระยะ 5 ปี (2558-2562) (ยโสธร=13.14 kkk = )

KPI ระดับเขต

1.อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนในเขตสุขภาพลดลง (ลดลงร้อยละ 14 จากค่าตังต้น 3 yrs median ปี53-55)

(ประเทศ=ยโสธร=kkk = )

3.     ผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที ควบคุมระดับน่าตาล/ความดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40)(ประเทศ=ยโสธร=36.63kkk = )

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที ควบคุมระดับน่าตาล/ความดันโลหิตได้ดี(ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50)(ประเทศ=ยโสธร=49.90 kkk = )

3. อัตราป่วยรายใหม่จากโรคโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (ลดลง) (ประเทศ=ยโสธร=kkk = )

4. ความชุกของพฤติกรรมเสี่ยงลดลง (ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ บริโภคผักผลไม้น้อยออกกำลังกายไม่เพียงพอ ขี่มอเตอร์ไซค์ไม่สวมหมวกนิรภัย เมาแล้วขับ)

KPI ระดับจังหวัด

1.ร้อยละของผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนที รับไว้รักษาในโรงพยาบาล ระดับ A, S, M1 ที มีค่า Probability of Survival (PS) > 0.75 และรอดชีวิตหลังการดูแลรักษา (kkk = )

…(ค่า PS คำนวณจากการประเมิน สภาพแวดล้อมของการเกิดอุบัติเหตุ ซึ่ง หาก ค่า PS > 0.75 จะมีโอกาสรอดสูง)..

2. โรงพยาบาล (รพช) ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิก NCD คุณภาพ ร้อยละ 70  (kkk = )

3. ร้อยละของผู้ทีได้รับการประเมินโอกาสเสียงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) และมีความเสียงสูงมาก ได้รับการปรับเปลียนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นและ/หรือได้รับยาในการรักษาเพือลดความเสียง (ร้อยละ 50)  (kkk = )

4.ความชุกของภาวะอ้วน (BMI ≥ 25 กก/2 และหรือภาวะอ้วนลงพุง (รอบเอวเกิน ชาย 90 ซม. หญิง 80 ซม.)  (kkk = )

5. ตำบลเป้าหมายมีการจัดการด้านสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ร้อยละ 70 (ระดับดีขึ้นไป) (kkk = )

6. จานวนสถานที่ทางาน/สถานประกอบการได้รับข้อมูล/เข้าถึงการดำเนินการ สถานที่ทางาน/สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข: 10,481 แห่ง (ร้อยละ 5 ของที่ขึ้นทะเบียน) สามารถปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และยาสูบได้ร้อยละ 50  (kkk = )

            หมายเหตุ การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน โดยใช้หลักการ 5 ส. (ระดับอำเภอขับเคลื่อนผ่าน DHS ระดับตำบลขับเคลื่อนผ่าน ตำบลจัดการสุขภาพ)

การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน หลักการ 5 ส.

สารสนเทศ (Information)

สุดเสี่ยง (Priority )

สหวิชาชีพ (Multididciplinary)

สุดคุ้ม (Economize Effective Cost)

ส่วนร่วม (Community Participation)

กรณีที่มีการสอบสวนอุบัติเหตุ ตามเกณฑ์ของสำนักระบาดวิทยา จำนวน 3 ข้อ คือ

เกณฑ์ข้อที่ 1 มีการตายจากอุบัติเหตุ มากกว่า 5 ราย

เกณฑ์ข้อที่ 2 มีการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ มากกว่า 15 ราย

เกณฑ์ข้อที่ 3 เกิดอุบัติเหตุ จากเหตุการณ์ที่น่าสนใจ เช่น รถโดยสาร รถรับส่งนักเรียน เป็นต้น

 ประเด็น กลุ่มวัยกลุ่มที่ 5 กลุ่มผู้สูงอายุ/กลุ่มคนพิการ

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 9. ร้อยละของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 30  (ประเทศ=ยโสธร=kkk = )

KPI ระดับเขต

1.มีระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ด้านสุขภาพ

1.1 ร้อยละตำบลดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวผ่านเกณฑ์ ร้อยละ   (kkk 13 ผ่าน 3 =23.8 )

1.2 ร้อยละของอาเภอสุขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ว ร้อยละ  (kkk = )

2.ร้อยละ 80 ของจังหวัดในเขตบริการสุขภาพมีการดาเนินงานในการบูรณาการระบบดูแลสุขภาพคนพิการทางการเคลื่อนไหว/ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พ้นระยะวิกฤติผ่านเกณฑ์ระดับ 3

3.สถานบริการมีการปรับสภาพแวดล้อม มีสิ่งอำนวยความสะดวกให้คนพิการ/ ผู้สูงอายุเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้

ร้อยละ  (kkk = )

4. คนพิการทุกประเภทมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ร้อยละ  (kkk = )

KPI ระดับจังหวัด

1. ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพทังทางร่างกายและจิตใจ (ร้อยละ 60) (kkk = )

2. ร้อยละของโรงพยาบาลชุมชน มีระบบการดูแลผู้สูงอายุที ครบวงจร

2.1 ร้อยละ 30 ของ รพช.มีหน่วยบริการผู้สูงอายุที ให้บริการประเมิน/คัดกรองและรักษาเบืองต้น

2.2 ร้อยละของ รพท./รพศ.มีหน่วยบริการผู้สูงอายุ

3. คนพิการทางการเคลือนไหว (ขาขาด) ได้รับบริการครบถ้วน ร้อยละ 90  (kkk = )

KPI ตาม ยุทธศาสตร์ที่ 2

พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ PSC_CDAS

KPI ประเด็นที่ 6 ด้านระบบบริการปฐมภูมิ Primary care

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 10. ร้อยละของอาเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ

KPI ระดับเขต ( ไม่มี)

KPI ระดับจังหวัด

1. สัดส่วนผู้ป่วยนอกผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ของ ศสม.และรพ.สต.เทียบกับโรงพยาบาลแม่ข่ายและมีผลการควบคุมความดันโลหิตสูง เบาหวานดีขึน

2. ร้อยละศสม./รพ.สต.ที มีการ out reach service โดยแพทย์ออกไปบริการเวชศาสตร์ชุมชน

3. ประชาชนในเขตรับผิดชอบได้รับบริการตามแผน DHS 10 เรือง( Service Plan 10 สาขา )

4. ร้อยละของอาเภอที่สามารถจัดบริการได้ตามแผน Service plan ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ดาเนินการโดยกลไก DHS

NOTE: ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 10 สาขา (Service Plan สาขา 1 หัวใจ  2 ทารกรกเกิด 3 มะเร็ง 4 อุบัติเหตุ 5 ตา 6 ไต 7 จิตเวช 8 ทันตกรรม 9 ปฐมภูมิทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม 10 NCD)   แพทย์ 5 สาขาหลัก สู ศัล Med

 
KPI ประเด็นที่ 7. ด้านระบบบริการทุติยภูมิ และตติยภูมิ

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 11. การส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเขตสุขภาพลดลง

KPI ระดับเขต

1. รพ. (M2) มีแพทย์ผู้เชียวชาญสาขาหลักตามเกณฑ์ (เงือนไข หากไม่มีแพทย์ผู้เชียวชาญอยู่ประจ่า ต้องมีแพทย์หมุนเวียน)

2. ดัชนีผู้ป่วยใน (CMI) ของแต่ละระดับสถานบริการสุขภาพตาม Service Plan ผ่านเกณฑ์ที ก่าหนด

3. โรงพยาบาลทุกระดับได้รับการรับรองคุณภาพ HA

4.การพัฒนาระบบบริการ 10 สาขา ผ่านเกณฑ์ที ก่าหนดในแต่ละสาขา

KPI ระดับจังหวัด ( ไม่มี )

 KPI ประเด็นที่ 8. ด้านระบบควบคุมโรค

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 12.ร้อยละของอ่าเภอ ทีสามารถควบคุมโรคติดต่อส่าคัญของพืนทีได้ (ร้อยละ 50)

            (ประเมินจาก 5 โรค คือ DHF Measle Re-Emerging TB AIDS )

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 13. ร้อยละของอ่าเภอชายแดนสามารถควบคุมโรคติดต่อส่าคัญของพืนทีชายแดน (ร้อยละ 50)

KPI ระดับเขต

1. ร้อยละ 80 ของอ่าเภออ่าเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยังยืนภายใต้ระบบสุขภาพอ่าเภอ (DHS)

2. ร้อยละ 60 ของอ่าเภอชายแดนด่าเนินการพัฒนาการสาธารณสุขชายแดนและช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศได้ตามกรอบ IHR 2005

(กฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 International Health Regulations 2005)

KPI ระดับจังหวัด

1. SRRT ระดับอ่าเภอสอบสวนและควบคุมโรคในโรคและกลุ่มอาการที มีความส่าคัญสูงระดับประเทศ ร้อยละ 60

2. ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศและจังหวัดชายแดนที เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที ก่าหนด ร้อยละ 70

3. ชุมชนต่างด้าวได้รับการจัดท่าฐานข้อมูลเพือการป้องกันควบคุมโรคและมีการพัฒนา อสม../อสต.ร้อยละ 70

 
KPI ประเด็นที่ 9. ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 14. ระดับความส่าเร็จของการด่าเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ

KPI ระดับเขต

1. ระดับความส่าเร็จของการด่าเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ ประกอบด้วย

1.1 ตัวชีวัดบังคับ : ระดับความส่าเร็จของการจัดการงานคุ้มครองผู้บริโภคระดับจังหวัด

1.2 ตัวชี้วัดที่ให้เขต/จังหวัด เลือกดาเนินการอย่างน้อย 2 ตัวชี้วัด จาก 6 ตัวชี้วัด ดังนี้

1.2.1 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวังให้ดาเนินการ

1.2.2 ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารมีคุณภาพมีคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กาหนด (เลือกดาเนินการอย่างน้อย 2 ประเภท ที่เป็นปัญหาสาคัญของพื้นที่จากอาหาร 7 ประเภท ได้แก่ ผัก ผลไม้ น้าบริโภค น้าแข็ง ผลิตภัณฑ์ชุมชน น้ามันทอดซ้า และเกลือไอโอดีน)

1.2.3 ระดับความสาเร็จในการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชนนาร่อง

1.2.4 ร้อยละของชิ้นการโฆษณาด้านสุขภาพผิดกฎหมายซึ่งเฝ้าระวังจากสื่อวิทยุกระจายเสียง หรือสื่ออื่นในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับการ

1.2.5 การบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนงานคุ้มครองผู้บริโภค

1.2.6 ระดับความสาเร็จของการดาเนินงานโครงการอื่นที่เขตกาหนดเอง

KPI ระดับจังหวัด ( ไม่มี )

 KPI ประเด็นที่ 10. ด้านการป้องกันและบ่าบัดรักษายาเสพติด

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 15. อัตราการหยุดเสพ (remission rate) ร้อยละ 50 (เทียบเคียงกับค่ากลางที ต่างประเทศท่าได้)

วัดจากประสิทธิภาพ การบันทึกข้อมูล บสต. ( ยโสธร=53.02 KKK=79.09)

ทั้งแบบผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก ที่สามารถหยุดเสพต่อเนื่องตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป

KPI ระดับเขต ( ไม่มี )

KPI ระดับจังหวัด

KPI อัตราคงอยู่ขณะบ่าบัดรักษา retention rate (85%) ( ยโสธร=98.09 KKK=100)

ทั้งผู้เสพและผู้ติดเข้ารับการรักษาไม่ขาดนัดเกินกว่า 4 เดือนขึ้นไป

ยุทธศาสตร์การดำเนินงานยาเสพติด

ย. 1. การบำบัดรักษา

ย. 2. การรณรงค์ป้องกัน

ย. 3. การควบคุมตัวยาและสารเคมี

ย. 1. การบริหารจัดการ

 
KPI ประเด็นที่ 11. ด้านการต่างประเทศและอาเซียน

            ไม่มี KPI ด้านนี้

 
KPI ประเด็นที่ 12. ด้านแก้ไขปัญหาและพัฒนาสาธารณสุขชายแดนภาคใต้

สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดยโสธร ไม่มี KPI ด้านนี้

 
KPI ยุทธศาสตร์ที 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการเพือสนับสนุนการจัดบริการ

 
kPI ประเด็นที่ 13 ด้านการบังคับใช้กฎหมาย

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 16. มีเครือข่ายนักกฎหมายที เข้มแข็ง และบังคับใช้กฎหมายในเรืองที ส่าคัญ

KPI ระดับเขต ( ไม่มี )

KPI ระดับจังหวัด

1. มีจ่านวนนักกฎหมายด้านสาธารณสุขเพิมขึน

2. มีระบบการพัฒนาด้าน HRD ส่าหรับนักกฎหมายอย่างเป็นระบบ

 
kPI ประเด็นที่ 14. ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 17. มีระบบฐานข้อมูล และสถานการณ์สิงแวดล้อมและสุขภาพ ระบบเฝ้าระวังด้านสิงแวดล้อมและสุขภาพ

KPI ระดับเขต

1. เทศบาลทุกระดับมีระบบบริการด้านอนามัยสิงแวดล้อมได้มาตรฐาน ร้อยละ 50

2. เขตสุขภาพมีระบบฐานข้อมูลสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ระบบเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

3. รพ.สธ. มีการจัดการมูลฝอย ติดเชื่อ ตามกฎหมาย ร้อยละ 100

KPI ระดับจังหวัด

1. อนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ทุกจังหวัด ด่าเนินงานตามอ่านาจหน้าที ที ก่าหนด

2. เทศบาลทุกระดับมีระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน ร้อยละ 50

3. จังหวัดมีระบบฐานข้อมูล สถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ระบบเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

4. ร้อยละ 100 ของมูลฝอยติดเชื้อ ในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีระบบควบคุม กากับ การเก็บ ขน และกำจัดมูลฝอยติดเชื้อที่ถูกต้อง

 
kPI ประเด็นที่ 15. ด้านพัฒนาบุคลากร

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 18. แผนพัฒนาบุคลากรอย่างมืออาชีพในระดับจังหวัด

KPI ระดับเขต

1.ระดับความสาเร็จในการวางแผนกาลังคน

2.ระดับความสาเร็จของการพัฒนาบุคลากรด้านบริหารและบริการ

            KPI ระดับจังหวัด ( ไม่มี )

สถานการณ์ด้านบุคลากร ตาม FTE สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร มีตำแหน่ง ที่สามารถบรรจุได้

ในโรงพยาบาลยโสธรเท่านั้น ประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 35 อัตรา

และสายงานแพทย์ ที่มีเพียง โรงพยาบาลยโสธร และโรงพยาบาลเลิงนกทา เท่านั้น ที่มีตำแหน่งรองรับ

            ฉะนั้น สิ่งที่พึงให้ความสำคัญคือ การพัฒนาบุคลากรที่มีอยู่ ให้สามารถสนับสนุนการปฏิบัติงานตามยุทธศาสตร์ ต่างๆได้ ทั้งศักยภาพบุคลากรใหม่ และ บุคลากรเดิม ตามสายงานต่างๆ ทั้งด้านวิชาการและด้านบริหาร

            เช่น การฝึกอบรมตาม Training Need ต่างๆ ผบต. ผบก. เป็นต้น

 
kPI ประเด็นที่ 16. การเงินการคลัง

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 19. ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพืนที

(ไม่เกินร้อยละ 10)

KPI ระดับเขต

หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ (ไม่เกินร้อยละ 20 )

KPI ระดับจังหวัด ( ไม่มี )

สถานการณ์ จังหวัดยโสธร ปี 2557 โรงพยาบาลเลิงนกทา โรงพยาบาลค้อวัง โรงพยาบาลไทยเจริญ ประสบปัญหาการเงินระดับ 7

การวัดประสิทธิภาพด้านการเงินการคลัง ใช้ FAI เป็นตัว ประเมิน Financial Advisory Indext  ซึ่งเป็นเครื่องชี้วัดความเชื่อมั่นขององค์กรทางด้านการเงิน measure organization Confidence ซึ่งประเมินจาก 4 องค์ประกอบคือ

1.     พัฒนาระบบการควบคุมภายใน(Internal Control)

2.     พัฒนาคุณภาพบัญชี  (Quality Financial Account )

3.     พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการเงิน(Financial Management)

4.     พัฒนาต้นทุนต่อหน่วยบริการ (Unit Cost)

 
การเพิ่มศักยภาพบริการ คือการเพิ่ม ประสิทธิภาพ CMI: Case Mixted Indext

การเพิ่มศักยภาพบริการ ที่เน้น การเพิ่ม RW ตามระบบ SERVICE plan เช่น การผ่าตัด การคลอด ในรพช. การ Refer ผู้ป่วยจาก รพท.กลับไปรับบริการ ที่ รพช. เป็นต้น

เพราะ ตามระบบการจัดสรรปัจจุบันนั้น บริการประเภทต่างๆนั้น หาก รพช.สามารถให้บริการได้ จะมีแต้มต่อ ในการจัดสรรเงิน  

kPI ประเด็นที่ 17. ยา เวชภัณฑ์ พัสดุ 

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 20. ลดต้นทุนของยา เวชภัณฑ์ และเวชภัณฑ์ที ไม่ใช่ยา

20.1 ต้นทุนค่าเวชภัณฑ์ฯของหน่วยงาน

20.2 มูลค่าการจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ฯ ของหน่วยงาน

kPI ประเด็นที่ 18. ปราบปรามทุจริต 

ตัวชี้วัดกระทรวงที่ 21. ค่าดัชนีวัดภาพลักษณ์คอรัปชันของประเทศไทย (CPI) มีระดับดีขึน

Corruption Perceptions Index

            โดย มีเป้าหมาย ให้ สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดยโสธร ผ่านการประเมิน

ด้านคุณธรรมและความโปร่งใสด้านการบริหารจัดการ ของหน่วยงาน หรือ

ดัชนีวัดความโปร่งใส Integrity Transparency Assessment:ITA ของ สำนักงาน ปปช.จำนวน 26 ข้อ

 
ดำเนินการตาม มาตรการ 5 ป. คือ ปลุก ปลูก ป้อง ปราม ปราบ

โดยมี KPI ที่สำคัญคือ หน่วยงานในสังกัด ได้รับการตรวจภายในอย่างน้อย 1 ครั้ง

 
เน้นการตรวจสอบ ด้านการเงิน พัสดุ การจัดเก็บรายได้ การบริหารยาและเวชภัณฑ์ และการจัดทำบัญชีเกณฑ์คงค้าง

จากข้อมูล ASEAN’s Corrupption Perception Indext 2013

จากการสำรวจทั่วโลก จำนวน 177 ประเทศ พบว่า ประเทศไทย อยู่ในลำดับที่ 102 ของโลก

เปรียบเทียบกับเพื่อนบ้าน ในกลุ่ม ASEAN ด้วยกัน ประเทศไทย อญุ่ในลำดับที่ 5 ดังนี้

อันดับ 5 ของโลก Singapore ได้ 86 คะแนน

อันดับ 38 ของโลก Brunei             ได้ 60 คะแนน

อันดับ 53 ของโลก Malaysia          ได้ 50 คะแนน

อันดับ 94 ของโลก Philippine         ได้ 36 คะแนน

ประเทศไทย อันดับ 102 ของโลก จาก 177 ประเทศ Thailand  ได้ 35 คะแนน

( อันดับโลก ปี 2555 ได้อันดับ ที่ 88 ปีนี้ 2556 ได้อันดับ ที่ 102)

อันดับ 114 ของโลก Indonesia ได้  คะแนน

อันดับ 116 ของโลก Vieatnam ได้  คะแนน

อันดับ 140 ของโลก LOAS ได้  คะแนน

อันดับ 157 ของโลก Myanmar ได้  คะแนน

อันดับ 160 ของโลก Cambodia  ได้  คะแนน

            ทั้งนี้ โดยมี ประเทศที่มีความโปร่งใส มากที่สุดในโลก คือ ประเทศเดนมาร์คและ ประเทศ นิวซีแลนด์

ได้คะแนน 91 จากคะแนน เต็ม 100 คะแนน

            ประเทศที่ได้คะแนนน้อยที่สุด คือ ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศเกาหลีเหนือ และประเทศโซมาเลีย ได้เพียง 8 คะแนน จากคะแนน เต็ม 100 คะแนน

Top Country World Corruption Perceptions Index 2013

Denmark and New Zeland tie for the first place for score 91 from 100  score

Afghanistan North Korea Somalia make up the worst performers scoring 8 point each.

 
World Corruption Perceptions Index 2013

แหล่งข้อมูล http://www.transparency.org/cpi2013/results

            The Corruption Perceptions Index 2013 serves as a reminder that the abuse of power, secret dealings and bribery continue to ravage societies around the world. 

The Index scores 177 countries and territories on a scale from 0 (highly corrupt) to 100 (very clean). No country has a perfect score, and two-thirds of countries score below 50. This indicates a serious, worldwide corruption problem. Hover on the map above to see how your country fares.

The world urgently needs a renewed effort to crack down on money laundering, clean up political finance, pursue the return of stolen assets and build more transparent public institutions.

No comments:

Post a Comment