8/20/22

2 ส.ค.65 POR:แผนป้องกันแพร่เชื้อใหม่_ไข้มาลาเรีย (Prevention Of Re-Establishment of Malaria)

2 ส.ค.65 POR:แผนป้องกันแพร่เชื้อใหม่_ไข้มาลาเรีย (Prevention Of Re-Establishment of Malaria)

วันที่ 2 สิงหาคม 2565 นายพันธุ์ทอง จันทร์สว่าง สาธารณสุขอำเภอเลิงนกทา และคณะ  ร่วม ประชุมจัดทำแผน POR ณ โรงแรม อมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพมหานคร

การประชุม เชิงปฏิบัติการ จัดทำแผนป้องกันเตรียมความพร้อมรับมือการกลับมาแพร่เชื้อใหม่ โรคไข้มาลาเรีย (Prevention of Re-Establishment of Malaria)กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ณ หอประชุม อำเภอเลิงนกทา

ประธาน โดย ดร.พญ.จันทนา ผดุงทศ ผู้อำนวยการกองโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

หัวหน้าคณะวิทยากร โดย ดร.ประยุทธ สุดาทิพย์ รองผู้อำนวยการกองโรคติดต่อนำโดยแมลง

จัดโดย กองโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

จังหวัดเป้าหมาย ทั่วประเทศ 16 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4 จังหวัด ( กาฬสินธุ์ บุรีรัมย์ สกลนคร ยโสธร )

 

Readiness for a strategy for Prevention of re-estabishment (PoR)

Ø  Strong surveillance system with malaria as notifiable disease under Infectious Disease Act

Ø  Strong health system

Ø  Very close to P.f elimination (48 foci)

Ø  More than half of provinces in Thailand are malaria free (41 provinces)

Ø  Strong commitment from Ministry of Public Health to achieve targets

Ø  Structures in place for intersectoral activities and monitoring

Ø  Sub national validation has highlighted urgent need for PoR strategy

 



วัตถุประสงค์ ของการทำ POR : Prevention of Re-establishment of Malaria Transmission

 

  1. เพื่อให้มีการเตรียมความพร้อมและพัฒนาแผนป้องกัน
    การกลับมาแพร่เชื้อใหม่
    ของโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ปลอดการแพร่เชื้อของโรคไข้มาลาเรีย
  2. เพื่อปรับปรุงเกณฑ์การประเมินรับรองจังหวัดปลอดโรค

 

 

เกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง

 เกณฑ์ด้านโอกาสเกิดการแพร่เชื้อใหม่

 1. ความไวรับของพื้นที่ (Receptivity)

R1: มียุงพาหะ หรือ สภาพแวดล้อมเหมาะสมเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงพาหะ
      โดยพิจารณาจากการจัดแบ่งระยะท้องที่ (B1/B2)

R2: มีผู้ป่วยติดเชื้อในพื้นที่ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (Indigenous)

2. ความเปราะบางของพื้นที่ (Vulnerability or importation risk)

V1: มีพื้นที่ติดต่อกับพื้นที่แพร่เชื้อ ซึ่งอาจจะมีการเคลื่อนย้ายของประชากรหรือแรงงานเข้าออก โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงที่จะมีเชื้อติดตัวเข้ามา หรือคนในพื้นที่ที่มีโอกาสไปในแหล่งแพร่เชื้อ

V2: มีผู้ป่วยที่ติดเชื้อมาจากที่อื่น (Import cases) ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา

 

 Full variable list for PCA : Principal Component Analysis (PCA)

 Malaria variables

             Malaria incidence

             Historical foci classification (up to 4 years)

             % Pv cases

             % indigenous cases

Environmental variables

             Percentage of land occupied by tropical forest

             Percentage of land occupied by mixed forest

             Percentage of land occupied by tree plantations

             Percentage of land occupied by croplands

             Percentage of land occupied by built area 

             Percentage of land occupied by seasonal water bodies

             Percentage of land occupied by permanent water bodies

             Level of human forest disturbance

Demographic variables

             Case age, sex, travel history, residential status, and occupation

 

 Selected variables

 Malaria variables

             Malaria incidence

             Historical foci classification

   (up to 4 years)

             % indigenous cases

Environmental variables

             No selected because already captured by foci classification

Demographic variables

             % Thai cases

             % Plantation workers

 

 มาตรการป้องกันการกลับมาแพร่เชื้อใหม่โรคไข้มาลาเรีย

             1. การตรวจวินิจฉัยและการรักษา

             2. การเฝ้าระวังโรค

             3. การป้องกันและควบคุมยุงพาหะ

             4. การเตรียมความพร้อมทักษะ วัสดุอุปกรณ์และเวชภัณฑ์

5. การตอบโต้เมื่อพบการแพร่เชื้อในพื้นที่

 





 รับเอกสาร ที่นี่

 ประชุมจัดทำแผนป้องกันการเตรียมความพร้อมรับมือ การกลับมาแพร่เชื้อใหม่โรคไข้มาลาเรีย16จังหวัด วันที่1-2 ส.ค.65 ณ รร.อมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ - Google Drive

 

 

 

 

No comments:

Post a Comment