23 กพ.2558: ขายเหล้าให้เด็กปรับ
2 หมื่น_พรบ.ควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ 2551
วันที่ 23
กุมภาพันธ์ 2558 วันนี้ผมนายพันธุ์ทอง จันทร์สว่าง จัดรายการวิทยุ
เพื่อประชาสัมพันธ์ เรื่อง พรบ.ควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ 2551 ณ สถานีวิทยุ คลื่น 96.5
MHz วัดดอนมะฮวน อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
ขายเหล้าให้เด็ก ถูกปรับ กี่บาท
การเปรียบเทียบปรับ ตามพรบ.ควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ 2551
ซึ่ง เป็นไปตาม ระเบียบคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์ 2551
เปรียบเทียบปรับ ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
พ.ศ. ๒๕๕๑
สรุปไว้ดีมาก ที่นี่
การควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กฎหมายการควบคุมในเรื่องใดบ้าง
พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 . . .
(๑)
จัดให้มีบรรจุภัณฑ์ ฉลาก
พร้อมทั้งข้อความคำเตือนสำหรับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ผลิตหรือนำเข้า
ทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการควบคุมประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๒)
การอื่นตามที่คณะกรรมการควบคุมกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ระวางโทษ มาตรา ๓๘ จําคุกไม่เกิน ๑ ปี หรือปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
๑๐๐,๐๐๐ บาท
(๑)
วัดหรือสถานที่สำหรับปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา
(๒)
สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลและร้านขายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา
(๓)
สถานที่ราชการ ยกเว้นบริเวณที่จัดไว้เป็นร้านค้าหรือสโมสร
(๔)
หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก
(๕)
สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
(๖)
สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง
หรือร้านค้าในบริเวณสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
(๗)
สวนสาธารณะของทางราชการที่จัดไว้เพื่อการพักผ่อนของประชาชนโดยทั่วไป
(๘)
สถานที่อื่นที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
ระวางโทษ มาตรา ๓๙ จําคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
ทำผิด ครั้งที่ ๑ ปรับ ๓,๐๐๐ บาท
ครั้งที่ ๒ ปรับ ๖,๐๐๐ บาท ครั้งที่
๓ ปรับ ๑๐,๐๐๐ บาท
ข้อหาความผิด มาตรา ๒๘ ห้ามมิให้ผู้ใดขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวัน
หรือเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยคำแนะนำของคณะกรรมการ ทั้งนี้
ประกาศดังกล่าวจะกำหนดเงื่อนไขหรือข้อยกเว้นใด ๆ เท่าที่จำเป็นไว้ด้วยก็ได้
บทบัญญัติในวรรคหนึ่ง
มิให้ใช้บังคับกับการขายของผู้ผลิตผู้นำเข้าหรือตัวแทนของผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าไปยังผู้ขายซึ่งได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยสุรา( การขายส่งทำได้)
วันที่ห้ามขาย ปัจจุบัน
มี 4 วัน คือวันมาฆบูชา
วันวิสาขบูชา วันอาฬหบูชา วันเข้าพรรษา
(ยกเว้นการขายในโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม)
สถานที่ห้ามขาย ปัจจุบันห้ามขายในเวลาอื่น นอกจากตั้งแต่เวลา 11.00
– 14.00 และ
เวลา 17.00 – 24.00 น.
ระวางโทษ มาตรา ๓๙ จําคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
ทำผิด ครั้งที่ ๑ ปรับ ๓,๐๐๐ บาท
ครั้งที่ ๒ ปรับ ๖,๐๐๐ บาท ครั้งที่
๓ ปรับ ๑๐,๐๐๐ บาท
(๑)
บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์
(๒)
บุคคลที่มีอาการมึนเมาจนครองสติไม่ได้
ระวางโทษตาม มาตรา ๔๐ จำคุกไม่เกิน
๑ ปี หรือปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
ทำผิด ครั้งที่ ๑ ปรับ ๖,๐๐๐ บาท ครั้งที่ ๒ ปรับ ๑๒,๐๐๐ บาท ครั้งที่ ๓ ปรับ ๒๐,๐๐๐ บาท
(๑)
ใช้เครื่องขายอัตโนมัติ
ระวางโทษตาม มาตรา ๔๐ จำคุกไม่เกิน ๑ ปี หรือปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ ทำผิด ทุกครั้ง ให้ปรับครั้งละ ๒๐,๐๐๐ บาท
(๒)
การเร่ขาย
(๓)
การลดราคาเพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการขาย
ระวางโทษ มาตรา ๔๑ จําคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
ทำผิด ครั้งที่ ๑ ปรับ ๓,๐๐๐ บาท ครั้งที่
๒ ปรับ ๖,๐๐๐ บาท
ครั้งที่ ๓ ปรับ ๑๐,๐๐๐ บาท
(๔)
ให้หรือเสนอให้สิทธิในการเข้าชมการแข่งขัน การแสดง
การให้บริการการชิงโชคการชิงรางวัล
หรือสิทธิประโยชน์อื่นใดเป็นการตอบแทนแก่ผู้ซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
หรือแก่ผู้นำหีบห่อหรือสลากหรือสิ่งอื่นใดเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาแลกเปลี่ยนหรือแลกซื้อ
(๕)
โดยแจก แถม ให้ หรือแลกเปลี่ยนกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือกับสินค้าอื่น
หรือการให้บริการอย่างอื่นแล้วแต่กรณี
หรือแจกจ่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในลักษณะเป็นตัวอย่างของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
หรือเป็นการจูงใจสาธารณชนให้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
รวมถึงการกำหนดเงื่อนไขการขายในลักษณะที่เป็นการบังคับซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยทางตรงหรือทางอ้อม
ระวางโทษตาม มาตรา ๔๑ จำคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน
๑๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ ทำผิด ทุกครั้ง ให้ปรับครั้งละ ๑๐,๐๐๐ บาท
(๖)
โดยวิธีหรือลักษณะอื่นใดตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยคำแนะนำของคณะกรรมการ
ระวางโทษ มาตรา ๔๑ จําคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
ทำผิด ครั้งที่ ๑ ปรับ ๓,๐๐๐ บาท
ครั้งที่ ๒ ปรับ ๖,๐๐๐ บาท
ครั้งที่ ๓ ปรับ ๑๐,๐๐๐ บาท
(๑)
วัดหรือสถานที่สำหรับปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา เว้นแต่เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมทางศาสนา
(๒)
สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลและร้านขายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา
ยกเว้นบริเวณที่จัดไว้เป็นที่พักส่วนบุคคล
(๓)
สถานที่ราชการ ยกเว้นบริเวณที่จัดไว้เป็นที่พักส่วนบุคคล หรือสโมสร
หรือการจัดเลี้ยงตามประเพณี
(๔)
สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
ยกเว้นบริเวณที่จัดไว้เป็นที่พักส่วนบุคคลหรือสโมสร หรือการจัดเลี้ยงตามประเพณี
หรือสถานศึกษาที่สอนการผสมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
(๕)
สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิงหรือร้านค้าในบริเวณสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
(๖)
สวนสาธารณะของทางราชการที่จัดไว้เพื่อการพักผ่อนของประชาชนโดยทั่วไป
(๗)
สถานที่อื่นที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยคำแนะนำของคณะกรรมการ
ซึ่งปัจจุบันมีประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี 3 ฉบับ
๑. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง กำหนดสถานที่หรือบริเวณห้ามขายหรือบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ในรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่นของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ วันที่ ๑
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
๒. ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง กำหนดสถานที่หรือบริเวณห้ามบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์บนทาง พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่
วันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ กำหนดว่า “ห้ามผู้ใดบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์บนทางในขณะขับขี่หรือในขณะโดยสารอยู่ในรถ
หรือ บนรถ”
๓. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
เรื่องเรื่อง ห้ามขายหรือห้ามบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นที่ประกอบกิจการโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน
ลงวันที่ วันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
ระวางโทษ มาตรา ๔๒ จําคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
ทำผิด ครั้งที่ ๑ ปรับ ๓,๐๐๐ บาท
ครั้งที่ ๒ ปรับ ๖,๐๐๐ บาท
ครั้งที่ ๓ ปรับ ๑๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๓๒ ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือแสดงชื่อหรือเครื่องหมายของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อันเป็นการอวดอ้างสรรพคุณหรือชักจูงใจให้ผู้อื่นดื่มโดยตรงหรือโดยอ้อม
การโฆษณาหรือประชาสัมพันธ์ใด ๆ
โดยผู้ผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกประเภทให้กระทำได้เฉพาะการให้ข้อมูลข่าวสาร
และความรู้เชิงสร้างสรรค์สังคม
โดยไม่มีการปรากฏภาพของสินค้าหรือบรรจุภัณฑ์ของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์นั้น
เว้นแต่เป็นการปรากฏของภาพสัญลักษณ์ของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
หรือสัญลักษณ์ของบริษัทผู้ผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์นั้นเท่านั้น
ทั้งนี้ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
บทบัญญัติในวรรคหนึ่งและวรรคสอง
มิให้ใช้บังคับกับการโฆษณาที่มีต้นกำเนิดนอกราชอาณาจักร
ระวางโทษ
มาตรา ๔๓ จำ
คุกไม่เกิน ๑ ปี ห รือ ป รับ ไ ม่เ กิน๕๐๐,๐๐๐บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ.......นอกจากมีโทษตามวรรคหนึ่งแล้วผู้ฝ่า
ฝืน ยัง มีโ ท ษปรับอีกวันละไม่เกิน๕๐,๐๐๐บาท ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนหรือจนกว่าจะได้ปฏิบัติ
ให้ถูกต้อง
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
ทำผิด ครั้งที่ ๑ ๕๐,๐๐๐ บาท ครั้งที่ ๒ ๒๐๐,๐๐๐บาทครั้งที่ ๓ ๕๐๐,๐๐๐ บาท
เว้นแต่เป็นการโฆษณาโดยผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าให้ปรับ ๕๐๐,๐๐๐ บาท
มาตรา
๓๔ ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจหนาที่ ดังไปนี้
(๑)
เขาไปในสถานที่ทําการของผูผลิต นําเขา หรือขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล สถานที่ผลิต
นําเขาหรือขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล สถานที่เก็บเครื่องดื่มแอลกอฮอล
ในเวลาทําการของสถานที่นั้นรวมถงเข้าตรวจสอบยานพาหนะเพื่อตรวจสอบการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
(๒)
ยึดหรืออายัดเครื่องดื่มแอลกอฮอลของผู้ผลิต ผูนําเขา
หรือผูขายที่ฝาฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
ระวางโทษ มาตรา ๔๔ ทั้ง จำคุก ไม่เกิน ๑ ปีหรือปรับ ไม่เกิน
๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ ทำผิด ทุกครั้ง ให้ปรับครั้งละ ๒๐,๐๐๐ บาท
(๓)
มีหนังสือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคําหรือใหส่งเอกสารหรือวัตถุใดมาเพื่อประกอบการพิจารณา
ระวางโทษ มาตรา ๔๔ ปรับ ไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท
อัตราการเปรียบเทียบปรับ ทำผิด ทุกครั้ง ให้ปรับครั้งละ ๒๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๓๖ บุคคลที่เกี่ยวข้องไม่อำนวยความ
ส ะ ด ว ก ต า ม ส ม ค ว ร ใ น ก า รปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
ตามมาตรา ๓๔
ระวางโทษ มาตรา ๔๔ ปรับ ไม่เกิน ๒,๐๐๐ บาท
อัตราการเปรียบเทียบปรับ ทำผิด ทุกครั้ง ให้ปรับครั้งละ ๒,๐๐๐ บาท 23 กพ.2558: ขายเหล้าให้เด็กปรับ
2 หมื่น_พรบ.ควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ 2551
วันที่ 23
กุมภาพันธ์ 2558 วันนี้ผมนายพันธุ์ทอง จันทร์สว่าง จัดรายการวิทยุ
เพื่อประชาสัมพันธ์ เรื่อง พรบ.ควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ 2551 ณ สถานีวิทยุ คลื่น 96.5
MHz วัดดอนมะฮวน อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
ขายเหล้าให้เด็ก ถูกปรับ กี่บาท
การเปรียบเทียบปรับ ตามพรบ.ควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ 2551
ซึ่ง เป็นไปตาม ระเบียบคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์ 2551
เปรียบเทียบปรับ ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
พ.ศ. ๒๕๕๑
สรุปไว้ดีมาก ที่นี่
การควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กฎหมายการควบคุมในเรื่องใดบ้าง
พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 . . .
(๑)
จัดให้มีบรรจุภัณฑ์ ฉลาก
พร้อมทั้งข้อความคำเตือนสำหรับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ผลิตหรือนำเข้า
ทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการควบคุมประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๒)
การอื่นตามที่คณะกรรมการควบคุมกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ระวางโทษ มาตรา ๓๘ จําคุกไม่เกิน ๑ ปี หรือปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
๑๐๐,๐๐๐ บาท
(๑)
วัดหรือสถานที่สำหรับปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา
(๒)
สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลและร้านขายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา
(๓)
สถานที่ราชการ ยกเว้นบริเวณที่จัดไว้เป็นร้านค้าหรือสโมสร
(๔)
หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก
(๕)
สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
(๖)
สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง
หรือร้านค้าในบริเวณสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
(๗)
สวนสาธารณะของทางราชการที่จัดไว้เพื่อการพักผ่อนของประชาชนโดยทั่วไป
(๘)
สถานที่อื่นที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
ระวางโทษ มาตรา ๓๙ จําคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
ทำผิด ครั้งที่ ๑ ปรับ ๓,๐๐๐ บาท
ครั้งที่ ๒ ปรับ ๖,๐๐๐ บาท ครั้งที่
๓ ปรับ ๑๐,๐๐๐ บาท
ข้อหาความผิด มาตรา ๒๘ ห้ามมิให้ผู้ใดขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวัน
หรือเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยคำแนะนำของคณะกรรมการ ทั้งนี้
ประกาศดังกล่าวจะกำหนดเงื่อนไขหรือข้อยกเว้นใด ๆ เท่าที่จำเป็นไว้ด้วยก็ได้
บทบัญญัติในวรรคหนึ่ง
มิให้ใช้บังคับกับการขายของผู้ผลิตผู้นำเข้าหรือตัวแทนของผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าไปยังผู้ขายซึ่งได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยสุรา( การขายส่งทำได้)
วันที่ห้ามขาย ปัจจุบัน
มี 4 วัน คือวันมาฆบูชา
วันวิสาขบูชา วันอาฬหบูชา วันเข้าพรรษา
(ยกเว้นการขายในโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม)
สถานที่ห้ามขาย ปัจจุบันห้ามขายในเวลาอื่น นอกจากตั้งแต่เวลา 11.00
– 14.00 และ
เวลา 17.00 – 24.00 น.
ระวางโทษ มาตรา ๓๙ จําคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
ทำผิด ครั้งที่ ๑ ปรับ ๓,๐๐๐ บาท
ครั้งที่ ๒ ปรับ ๖,๐๐๐ บาท ครั้งที่
๓ ปรับ ๑๐,๐๐๐ บาท
(๑)
บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์
(๒)
บุคคลที่มีอาการมึนเมาจนครองสติไม่ได้
ระวางโทษตาม มาตรา ๔๐ จำคุกไม่เกิน
๑ ปี หรือปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
ทำผิด ครั้งที่ ๑ ปรับ ๖,๐๐๐ บาท ครั้งที่ ๒ ปรับ ๑๒,๐๐๐ บาท ครั้งที่ ๓ ปรับ ๒๐,๐๐๐ บาท
(๑)
ใช้เครื่องขายอัตโนมัติ
ระวางโทษตาม มาตรา ๔๐ จำคุกไม่เกิน ๑ ปี หรือปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ ทำผิด ทุกครั้ง ให้ปรับครั้งละ ๒๐,๐๐๐ บาท
(๒)
การเร่ขาย
(๓)
การลดราคาเพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการขาย
ระวางโทษ มาตรา ๔๑ จําคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
ทำผิด ครั้งที่ ๑ ปรับ ๓,๐๐๐ บาท ครั้งที่
๒ ปรับ ๖,๐๐๐ บาท
ครั้งที่ ๓ ปรับ ๑๐,๐๐๐ บาท
(๔)
ให้หรือเสนอให้สิทธิในการเข้าชมการแข่งขัน การแสดง
การให้บริการการชิงโชคการชิงรางวัล
หรือสิทธิประโยชน์อื่นใดเป็นการตอบแทนแก่ผู้ซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
หรือแก่ผู้นำหีบห่อหรือสลากหรือสิ่งอื่นใดเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาแลกเปลี่ยนหรือแลกซื้อ
(๕)
โดยแจก แถม ให้ หรือแลกเปลี่ยนกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือกับสินค้าอื่น
หรือการให้บริการอย่างอื่นแล้วแต่กรณี
หรือแจกจ่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในลักษณะเป็นตัวอย่างของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
หรือเป็นการจูงใจสาธารณชนให้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
รวมถึงการกำหนดเงื่อนไขการขายในลักษณะที่เป็นการบังคับซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยทางตรงหรือทางอ้อม
ระวางโทษตาม มาตรา ๔๑ จำคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน
๑๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ ทำผิด ทุกครั้ง ให้ปรับครั้งละ ๑๐,๐๐๐ บาท
(๖)
โดยวิธีหรือลักษณะอื่นใดตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยคำแนะนำของคณะกรรมการ
ระวางโทษ มาตรา ๔๑ จําคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
ทำผิด ครั้งที่ ๑ ปรับ ๓,๐๐๐ บาท
ครั้งที่ ๒ ปรับ ๖,๐๐๐ บาท
ครั้งที่ ๓ ปรับ ๑๐,๐๐๐ บาท
(๑)
วัดหรือสถานที่สำหรับปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา เว้นแต่เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมทางศาสนา
(๒)
สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลและร้านขายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา
ยกเว้นบริเวณที่จัดไว้เป็นที่พักส่วนบุคคล
(๓)
สถานที่ราชการ ยกเว้นบริเวณที่จัดไว้เป็นที่พักส่วนบุคคล หรือสโมสร
หรือการจัดเลี้ยงตามประเพณี
(๔)
สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
ยกเว้นบริเวณที่จัดไว้เป็นที่พักส่วนบุคคลหรือสโมสร หรือการจัดเลี้ยงตามประเพณี
หรือสถานศึกษาที่สอนการผสมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
(๕)
สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิงหรือร้านค้าในบริเวณสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
(๖)
สวนสาธารณะของทางราชการที่จัดไว้เพื่อการพักผ่อนของประชาชนโดยทั่วไป
(๗)
สถานที่อื่นที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยคำแนะนำของคณะกรรมการ
ซึ่งปัจจุบันมีประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี 3 ฉบับ
๑. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง กำหนดสถานที่หรือบริเวณห้ามขายหรือบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ในรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่นของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ วันที่ ๑
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
๒. ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง กำหนดสถานที่หรือบริเวณห้ามบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์บนทาง พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่
วันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ กำหนดว่า “ห้ามผู้ใดบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์บนทางในขณะขับขี่หรือในขณะโดยสารอยู่ในรถ
หรือ บนรถ”
๓. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
เรื่องเรื่อง ห้ามขายหรือห้ามบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นที่ประกอบกิจการโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน
ลงวันที่ วันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
ระวางโทษ มาตรา ๔๒ จําคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
ทำผิด ครั้งที่ ๑ ปรับ ๓,๐๐๐ บาท
ครั้งที่ ๒ ปรับ ๖,๐๐๐ บาท
ครั้งที่ ๓ ปรับ ๑๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๓๒ ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือแสดงชื่อหรือเครื่องหมายของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อันเป็นการอวดอ้างสรรพคุณหรือชักจูงใจให้ผู้อื่นดื่มโดยตรงหรือโดยอ้อม
การโฆษณาหรือประชาสัมพันธ์ใด ๆ
โดยผู้ผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกประเภทให้กระทำได้เฉพาะการให้ข้อมูลข่าวสาร
และความรู้เชิงสร้างสรรค์สังคม
โดยไม่มีการปรากฏภาพของสินค้าหรือบรรจุภัณฑ์ของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์นั้น
เว้นแต่เป็นการปรากฏของภาพสัญลักษณ์ของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
หรือสัญลักษณ์ของบริษัทผู้ผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์นั้นเท่านั้น
ทั้งนี้ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
บทบัญญัติในวรรคหนึ่งและวรรคสอง
มิให้ใช้บังคับกับการโฆษณาที่มีต้นกำเนิดนอกราชอาณาจักร
ระวางโทษ
มาตรา ๔๓ จำ
คุกไม่เกิน ๑ ปี ห รือ ป รับ ไ ม่เ กิน๕๐๐,๐๐๐บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ.......นอกจากมีโทษตามวรรคหนึ่งแล้วผู้ฝ่า
ฝืน ยัง มีโ ท ษปรับอีกวันละไม่เกิน๕๐,๐๐๐บาท ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนหรือจนกว่าจะได้ปฏิบัติ
ให้ถูกต้อง
อัตราการเปรียบเทียบปรับ
ทำผิด ครั้งที่ ๑ ๕๐,๐๐๐ บาท ครั้งที่ ๒ ๒๐๐,๐๐๐บาทครั้งที่ ๓ ๕๐๐,๐๐๐ บาท
เว้นแต่เป็นการโฆษณาโดยผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าให้ปรับ ๕๐๐,๐๐๐ บาท
มาตรา
๓๔ ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจหนาที่ ดังไปนี้
(๑)
เขาไปในสถานที่ทําการของผูผลิต นําเขา หรือขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล สถานที่ผลิต
นําเขาหรือขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล สถานที่เก็บเครื่องดื่มแอลกอฮอล
ในเวลาทําการของสถานที่นั้นรวมถงเข้าตรวจสอบยานพาหนะเพื่อตรวจสอบการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
(๒)
ยึดหรืออายัดเครื่องดื่มแอลกอฮอลของผู้ผลิต ผูนําเขา
หรือผูขายที่ฝาฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
ระวางโทษ มาตรา ๔๔ ทั้ง จำคุก ไม่เกิน ๑ ปีหรือปรับ ไม่เกิน
๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
อัตราการเปรียบเทียบปรับ ทำผิด ทุกครั้ง ให้ปรับครั้งละ ๒๐,๐๐๐ บาท
(๓)
มีหนังสือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคําหรือใหส่งเอกสารหรือวัตถุใดมาเพื่อประกอบการพิจารณา
ระวางโทษ มาตรา ๔๔ ปรับ ไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท
อัตราการเปรียบเทียบปรับ ทำผิด ทุกครั้ง ให้ปรับครั้งละ ๒๐,๐๐๐ บาท
มาตรา ๓๖ บุคคลที่เกี่ยวข้องไม่อำนวยความ
ส ะ ด ว ก ต า ม ส ม ค ว ร ใ น ก า รปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
ตามมาตรา ๓๔
ระวางโทษ มาตรา ๔๔ ปรับ ไม่เกิน ๒,๐๐๐ บาท
อัตราการเปรียบเทียบปรับ ทำผิด ทุกครั้ง ให้ปรับครั้งละ ๒,๐๐๐ บาท
No comments:
Post a Comment