11 มี.ค.65 แก้ปัญหา แบบพุ่งเป้า ไปครอบครัว : แก้ปัญหา ความยากจน สามารถประกอบอาชีพและใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข
วันที่ 11 มีนาคม 2565 ภาคเช้า
นายพันธุ์ทอง จันทร์สว่าง สาธารณสุขอำเภอเลิงนกทา และคณะ
ประชุม
ณ ที่ว่าการอำเภอเลิงนกทา รับชมการถ่ายทอดสด การขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับพื้นที่ ปี 2565 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
จัด
ณ โรงแรมอวานี ขอนแก่น โฮเทล แอนด์ คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น
คำว่า ระดับพื้นที่ ใหญ่สุด คือ ระดับ จังหวัด รองคือ
อำเภอ
แล้วพุ่งเป้า ซอยย่อยไป ในระดับ ตำบล ระดับครอบครัว
แบ่ง เจ้าภาพหลัก ในการแก้ไข หรือ มีช่าง ซ่อม เฉพาะด้าน
พี่เลี้ยง
ต้อง ดูที่ปัญหา แล้ว ใช้วิธี แก้ปัญหา แบบพุ่งเป้า
บูรณาการ
การแก้ปัญหา ในระดับ อำเภอ มีนายอำเภอ เป็นแม่ทัพใหญ่
หัวหน้าคณะวิทยากร โดยมี
นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย
เป้าประสงค์หลัก โครงการ
เพื่อให้ประชาชนสามารถประกอบอาชีพและใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข
ผ่านกลไกกระทรวงและส่วนราชการ
สภาพปัญหา
เครื่องมือ
Tool ที่ใช้ในการแก้ปัญหาของหน่วยงานภาครัฐ
ในอดีตที่ผ่านมา ครบ 3 ประการ
1.
แผนงาน
2.
โครงการ
3.
งบประมาณ
ส่วนราชการต่างๆ
มีข้อมูลประกอบการแก้ปัญหา ยกตัวอย่าง
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กรมพัฒนาชมชน มี ข้อมูล จปฐ.
พม. มี ข้อมูล กลุ่มเปราะบาง
ธกส.มี ข้อมูล ลูกหนี้
กระทรวง สาธารณสุข มี ข้อมูล ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยติดเตียง
กระทรวง เกษตร มี ข้อมูล เกษตรกร
กระทรวง แรงงาน มี ข้อมูล ผู้ใช้แรงงาน
กระทรวง พาณิชย์ มี ข้อมูล ผู้ค้าขาย
กระทรวง อุตสาหกรรม มี ข้อมูล ผู้ประกอบการ
กระทรวง ศึกษาธิการมี มี ข้อมูล ผู้สำเร็จการศึกษา มีคลังปัญญา
กรมตำรวจ มี ข้อมูล อาชญากร ผู้ติด ผู้ค้า ผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
แต่ ความเป็นจริง ในพื้นที่ ยังคงมีปัญหา
นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์
ไม่ต้องการ ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
นิยาม ความยาก และความจน
ความยากจน ทุกมิติ มากกว่า คำว่า รายได้
เกี่ยวกับ Faction ของหน่วยงานใด มอบหน่วยงานนั้นๆ
มาเป็นผู้รับผิดชอบหลัก
หน่วยไหน มีบทบาท ภารกิจใด X ray ทุกตารางนิ้ว
ค้นหาเจอ
กระทรวง มหาดไทย มี ข้อมูล ทะเบียนราษฎร์ แต่มี 2 แสน คน ไม่มีบัตรประชาชน
เกี่ยวกับ ความยากจนไหม เกี่ยว
เพราะ จะไปทำอะไรไม่ได้
การไฟฟ้า มี ข้อมูล ผู้ใช้ไฟ ปัจจุบัน
มีกี่หลังคา ไม่มีไฟฟ้าใช้
คนไม่มีไฟฟ้าใช้ เดือดร้อนไหม
กรมตำรวจ มี ข้อมูล ผู้ติดยาเสพติด
ครอบครัว มี ผู้ติดยาเสพติด
เขาแก้ได้ด้วยตนเองไหม
กรมที่ดิน มี ข้อมูล ผู้ถือครองที่ดิน
คนไม่มีที่ทำกิน เดือดร้อนไหม
แต่ที่ดินเขา ติด จำนอง เขาจะเพิ่มศักยภาพอีกได้ไหม
กระทรวง ศึกษาธิการมี มี ข้อมูล ผู้สำเร็จการศึกษา มีคลังปัญญา แต่ ในพื้นที่ได้นำมาช้หรือไม่
กรมการขนส่งทางบก มี ข้อมูล รถ และ ใบขับขี่
ปัจจุบัน รถ มากกว่า ใบอนุญาตขับขี่ เป็นปัญหาไหม
กรมการประกันภัย มีข้อมูล พรบ.
แต่ ความจริง เกิดอุบัติเหตุ ประชาชน ไม่สามารถเบิกได้ มีมากไหม เพราะอะไร
กรมการปกครอง มีทะเบียนบ้าน แต่มี 2 แสน คน ไม่มีบ้านเลขที่
คนไม่มีบ้าน เดือดร้อนไหม
ทีมพี่เลี้ยง มีภารกิจ
ตัดชุดเฉพาะคน ตัดชุดเฉพาะปัญหา
ทีมพี่เลี้ยง ต้องมีคุณภาพ คำว่า คือ ช่วย กระตุ้น ให้เขาใช้ศักยภาพตนเอง
ช่วยตนเอง ให้ได้ อย่างยั่งยืน
โดย ทีมพี่เลี้ยงต้อง ร่วม คลุก
คลี ตีโมง กับ กลุ่มเป้าหมาย
ทีมพี่เลี้ยง ต้องดูแลไม่มาก ฉะนั้น ต้องมีหลายส่วนร่วมกัน
ในระดับจังหวัด ท่าน
ผู้ว่าราชการจังหวัด จะมอบ รองผู้ว่าราชการจังหวัด ได้
ในระดับอำเภอ ท่าน นายอำเภอ จะมอบ พัฒนาการอำเภอ ได้
แต่ ผู้ว่าราชการจังหวัด
นายอำเภอ อย่าฝากความทุกข์ยาก ของประชาชน ไว้กับคนที่ท่านมอบ
ความยากจน คือความเดือดร้อน
ของประชาชน ที่ไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยตนเอง
จนใจ จนปัญญา จนเงิน
เริ่มอย่างไร เริ่มจากใจ
ต้องมีใจ ที่จะบำบัดทุกข์ บำรุงสุข ให้กับประชาชน
ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คนไม่มีที่ทำกิน
ที่สาธารณะ ที่ วัด ที่ โรงเรียน ที่ส่วนราชการ มีไหม
จะช่วยกันนำมาใช้ประโยชน์ ได้อย่างไร
เริ่มจากง่ายๆ ก่อน เช่น โครงการ
“บ้านนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง”
บ้านนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง
มีเหลือกิน ให้ แบ่งบัน
มีเกินแบ่งปัน ขายสร้างรายได้
แบ่งปัน แบ่งได้ทุกอย่าง ไม่เฉพาะ ผลผลิต
แบ่งได้ แม่กระทั่ง แบ่งปันพื้นที่ ให้
เพื่อนบ้านปลูก เป็นต้น
เทศบาล อบต. โครงการ “ทางนี้มีฝน
ผู้คนรักกัน”
ปลูก ไม้ผล ปลูกผัก ปลูกสิ่งต่างๆ ที่คนสามารถกินได้
ถนนเป็นแหล่งอาหาร ของคนเปราะบาง
แต่ ณ วันนี้ ยังมีปัญหาความยากจนไหม
ความเหลื่อมล้ำ หรือไม่ ไหม
คำตอบ คือ ยังมี เพราะ ยังยากจน
ยังมีปัญหา
ถามว่า เพราะสาเหตุใด ตอบว่า เพราะ วิธีการ แบบตัดเสื้อ โหล
ไม่เหมาะสม
แนวคิดใหม่ แบบ
ตัดเสื้อเฉพาะตัว
พุ่งเป้าไปในระดับครอบครัว
กลวิธีหลัก 2
วิธี
วิธีที่ 1 คือ ตาม เมนูแก้จนที่กำหนด ( แบบพุ่งเป้า )
วิธีที่ 2 คือ มีเจ้าภาพหลัก ในการแก้ไข หรือ มีช่าง
ซ่อม เฉพาะด้าน ในระดับครัวเรือน
ตามหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่
หากไม่มีในระดับอำเภอ ให้ ใช้กลไกระดับ สูงขึ้นไป คือ จังหวัด เป็นต้น
ประกอบอาชีพ
ผลิตภัณฑ์ชุมชน เจ้าภาพหลัก คือ
พัฒนาการอำเภอ กศน.อำเภอ
หากประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม เจ้าภาพหลัก คือ เกษตรอำเภอ
เช่น เลือกใช้ แปลงเล็ก แปลงใหญ่
พืชน้ำน้อย ระบบชลประทาน ตามเหมาะสม เป็นต้น
ประกอบอาชีพ
ประมง เจ้าภาพหลัก คือ ประมงอำเภอ
ประกอบอาชีพ
เลี้ยงสัตว์ เจ้าภาพหลัก คือ
ปศุสัตว์อำเภอ
มีปัญหา
ด้านสุขภาพ เจ้าภาพหลัก คือ สาธารณสุขอำเภอ โรงพยาบาลอำเภอ
ประกอบอาชีพ
ช่างซ่อม เจ้าภาพหลัก คือ สถานศึกษา
อาชีวะศึกษา ในพื้นที่
ประกอบอาชีพ
ค้าขาย เจ้าภาพหลัก คือ ปลัดอำเภอ พาณิชย์จังหวัด
ประกอบอาชีพ
ผู้ประกอบการรายย่อย เจ้าภาพหลัก คือ ปลัดอำเภอ อุตสาหกรรมจังหวัด
อาชีพใดๆ ก็ต้อง เจ้าภาพหลัก
เป็น พี่เลี่ยง
เวทีนี้
ต้องมีพี่เลี้ยง
ข้อห้าม
พี่เลี้ยง อย่าบอกให้เขาทำ
ทำอย่างไร ให้เขาพูด หรือ บอกว่า
เขาอยาก จะทำอะไร
สิ่งที่เขาจะทำ เป็นเป้าหมาย
สิ่งที่เขาจะทำนั้น เขาขาดอะไร
1.
ขาดความรู้ ทักษะ
2.
ขาดเงินทุน
3.
ขาดอุกรณ์
พี่เลี้ยง Guide ให้เขา
ทราบข้อเท็จจริง อย่างรอบด้าน
เช่น ระบบน้ำ ระบบไฟฟ้า เงินทุน แรงงาน
การดูแลรักษา การตลาด การพัฒนาผลิตภัณฑ์
แล้ว พี่เลี้ยง เสนอ ข้อมูล ให้ ครัวเรือน ตัดสินใจ
เลือกแนวทางเอง
นี่คือ หลัก การมีส่วนร่วม การ ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ ไม่ว่าจะได้ผล ไม่ได้ผล จะยอมรับและหาทางแก้ไข ปรับปรุง ร่วมกันต่อไป ไม่มีโทษกัน มีแต่ สนับสนุน ซึ่งกันและกัน หลัก 4 ท แก้ปัญหาความยากจน
หลัก 4 ท แก้จน 1ทัศนคติ 2ทักษะ 3ทรัพยากร 4ทางออก
วิธีการ 3 ชัด 1ข้อมูลชัด 2ทีมงานชัด(ทุกระดับ) 3 วิธีการแก้ปัญหาชัด
ข้อมูลชัด เช่น สงเคราะห์ … ครัวเรือน พี่เลี้ยงช่วย ร่วมกัน .. ครัวเรือน
กลวิธีนี้ ใช้ได้ผลมาแล้ว เมื่อ
ผมรับราชการใหม่ ๆ กับ Campaign “สุขภาพดีถ้วนหน้า
ปี 2543”
กลวิธี
สาธารณสุขมูลฐาน เรียกว่า PAI ประกอบด้วย
1.
People Participated
2.
Appropriate Technology
3. Intersectoral Collaboration
การป้องกัน
อุบัติเหตุทางถนน
ให้ทุกจังหวัด ให้ความสำคัญ ในการขับเคลื่อน ตลอดปี
ไม่เฉพาะช่วงเทศกาล
ตายรายวัน นอกเทศกาล มากกว่า ช่วงเทศกาล
การป้องกัน แก้ไข
ปัญหา COVID-19
เน้น การสร้างระบบ และ การสร้างความเข้าใจ สื่อสารให้เขาทราบว่า ผู้ป่วยสีเขียว คือ อะไร
สถานการณ์ การติดเชื้อ รายวันสูงขึ้นมาก กลุ่ม สีเขียว เน้น HI หรือ CI
(เทศบาลตำบล อบต. สนับสนุน การจัดรถ พาหนะ รับ ส่ง ยา จากโรงพยาบาล ไปให้ประชาชนของตนเอง)
คนที่จะเข้า โรงพยาบาลได้ ต้อง เป็นสีเหลือง ขึ้นไป
โรงพยาบาล
เป็นพื้นที่บริการ สาธารณะ สำหรับ ผู้เจ็บป่วยที่อ่อนแอ
หาก
เรา สีเขียว เรา ยังแข็งแรง เราต้อง เสียสละเตียง ให้กับ ผู้อ่อนแอ
ทั้ง หญิง คลอด คนผ่าตัดตา ผ่าตัดไต
คนใช้เครื่องช่วยหายใจ เป็นต้น
การแก้ PM2.5
ดีที่สุดคือ การใช้ประโยชน์ จากสิ่งที่จะเผา โดยไม่ต้องเผา
การแก้ ปัญหา สายไฟฟ้า สายสื่อสาร
ทุกสี่แยก ทุกเสาไฟฟ้า พัว พัน ยุ่งเหยิง ทั่วประเทศ
ทั้ง อันตราย ทั้ง อุจจาดตา
เราจะช่วยกันแก้ จัดระเบียบ ให้ได้ อย่างไร
การแก้ ปัญหา ภัยแล้ง
เพื่อให้ประชาชนสามารถประกอบอาชีพและใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข
ผ่านกลไกกระทรวงและส่วนราชการที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะในแต่ละด้าน ทั้งด้านการเกษตร
ปศุสัตว์ สุขภาพ การศึกษา เป็นต้น รวมไปถึงในด้านแหล่งเงินผ่านกลไกธนาคารของรัฐ
เช่น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ และกองทุนของรัฐ เช่น กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
(กทบ.) กองทุนด้านอื่นๆ
No comments:
Post a Comment