5/16/10

149KPIการปฏิบัติงานสาธารณสุขปี53 149 ตัวชี้วัด 149KPI53


ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานสาธารณสุข (KPI) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธรปีงบประมาณ 2553
ตัวชี้วัดการดำเนินงานสาธารณสุข53 มี อะไร บ้าง KPIการปฏิบัติงานสาธารณสุขปี53 จำนวน 149 ตัวชี้วัด 149KPI53
ออกกำลังกาย
1 ร้อยละ 80 ของชมรมสร้างสุขภาพได้รับการเฝ้าระวังโดยดำเนินกิจกรรม วัดรอบเอว ปีละ 2 ครั้ง ร้อยละ 80% ของ ชมรม
2 ร้อยละ 80 ของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับมัธยมศึกษาได้รับการเฝ้าระวังโดยดำเนินกิจกรรม วัดรอบเอว ปีละ 2 ครั้ง ร้อยละ 80% ของ แห่ง
3 ร้อยละ 80 ของหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค ระดับจังหวัด ได้ดำเนินกิจกรรม วัดรอบเอว ปีละ 2 ครั้ง ร้อยละ 80% ของ แห่ง
4 ร้อยละ 80 ของสมาชิกชมรมสร้างสุขภาพได้รับการเฝ้าระวังโดยดำเนินกิจกรรม วัดรอบเอว ปีละ 2 ครั้ง ร้อยละ 80% ของ คน
5 ร้อยละ 80 ของนักเรียนในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับชั้น ม. 4-6 ได้รับการเฝ้าระวังโดยดำเนินกิจกรรม วัดรอบเอว ปีละ 2 ครั้ง ร้อยละ 80% ของ คน
6 ร้อยละ 80 ของข้าราชการ/ลูกจ้างในหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค ระดับจังหวัด ได้รับการเฝ้าระวังโดยดำเนินกิจกรรม วัดรอบเอว ปีละ 2 ครั้ง ร้อยละ 80% ของ คน
7 ประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไปมีรอบเอวน้อยกว่า 90 ซ.ม. ร้อยละ 85 ร้อยละ >85% ของ คน
8 ประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไปมีรอบเอวน้อยกว่า 80 ซ.ม. ร้อยละ 65 ร้อยละ > 65% ของ คน


ผู้พิการและด้อยโอกาส
9ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของสถานบริการมีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการขั้นพื้นฐาน ร้อยละ >80% ของ แห่ง
งานผู้สูงอายุ
10ร้อยละ 100 ของตำบลมีชมรมผู้สูงอายุ จัดกิจกรรมต่อเนื่องอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ร้อยละ 100% ของ ตำบล
11ร้อยละ 100 ของศูนย์สุขภาพชุมชนมีการจัดบริการดูแลผู้ป่วยผู้สูงอายุที่บ้าน ร้อยละ 100% ของ แห่ง
12ร้อยละ 60 ของสถานีอนามัยมีการประสานงานกับโรงพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ร้อยละ 60% ของ แห่ง
งานศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่)
13 ศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ระดับพื้นฐาน ร้อยละ 90 ร้อยละ 90% ของ แห่ง
14 ศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ระดับดีและ ดีมากร้อยละ 40 ร้อยละ >=40% ของ แห่ง
15 เด็ก 0-5 ปี ในศูนย์เด็กเล็กมีพัฒนาการสมวัย( เพื่อพัฒนา IQ EQ ให้ได้มาตรฐานสากลร้อยละ 90 ขึ้นไป) ร้อยละ >=90% ของ คน

งานส่งเสริมสุขภาพ
16 อัตราตายมารดาไม่เกิน 36 : 100,000 การเกิดมีชีพ ร้อยละ <=36/100000 ของ คน
17 อัตราตายปริกำเนิดของทารกไม่เกิน 15 : 1,000 การเกิด ร้อยละ <=15/1000 ของ คน
18 อัตราหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ร้อยละ 50% ของ คน
19 อัตราการฝากครรภ์ครบ 4 ครั้งตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละ >=90% ของ คน
20 อัตราการคลอดในสถานบริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ร้อยละ >=95% ของ คน
21 ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย ร้อยละ <=80% ของ คน
22 หญิงมีครรภ์มีภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ 10 ร้อยละ <=10% ของ คน
23 ทารกแรกเกิด นน.น้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7 ร้อยละ <=7% ของ คน
24 เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละ >=90% ของ คน
25 อัตราการมีบุตรของหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี ไม่เกินร้อยละ 10 ร้อยละ <=10% ของ คน
26 ร้อยละ 100 ของมารดาที่เสียชีวิตตามเกณฑ์ ได้รับการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและดำเนินการแก้ไขสาเหตุ โดย MCH Board ของจังหวัด ร้อยละ 100% ของ คน
27 เด็ก 0-5 ปีมีน้ำหนักตามเกณฑ์อายุ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 93 ร้อยละ 93% ของ คน
28 เด็ก 0-5 ปีมีรูปร่างสมส่วนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ร้อยละ >=80% ของ คน
29 เด็ก 0-5 ปีมีส่วนสูงตามเกณฑ์ค่อนข้างสูง และสูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 91 ร้อยละ >91% ของ คน
30 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ของครัวเรือนใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ (ปริมาณไอโอดีนมากกว่า 30 ppm) ร้อยละ >=85% ของ หลังคา
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
31 โรงเรียนผ่านเกณฑ์โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร อย่างน้อยอำเภอละ 1 โรงเรียน ร้อยละ 100% ของ แห่ง
32 ร้อยละ 1.5 ของโรงเรียน มีนักเรียนจัดทำโครงงานสุขภาพเพื่อส่งเสริมป้องกันหรือแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพในโรงเรียน ร้อยละ 2% ของ แห่ง
33 มีโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ร้อยละ >=50% ของ แห่ง
งานทันตสาธารณสุข
34 หญิงมีครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 50% ของ คน
35 หญิงมีครรภ์ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับการรักษา ร้อยละ > 20% ของ คน
36 เด็กอายุ 9-12 เดือน ได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 50% ของ คน
37 พ่อ แม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก อายุ 9-12 เดือน ได้รับคำแนะนำ สาธิต ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก ร้อยละ 50 ร้อยละ 50% ของ คน
38 ศพด.จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ทุกวัน ร้อยละ 80% ของ แห่ง
39 ศพด.มีสถานที่แปรงฟันอย่างเหมาะสม ร้อยละ 100% ของ แห่ง
40 ศพด.จัดอาหารว่างที่มีคุณค่าทางโภชนาการและไม่หวานจัด ร้อยละ 40% ของ แห่ง
41 เด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 35 ร้อยละ >35 % ของ คน
42 นักเรียนประถมศึกษาแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ทุกวัน ร้อยละ 85% ของ คน
43 โรงเรียนประถมศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน ร้อยละ 100% ของ แห่ง
44 นักเรียนชั้นประถมศึกษาได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกคน ร้อยละ 100% ของ คน
45 นักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ร้อยละ 50% ของ คน
46 โรงเรียนประถมศึกษาผ่านเกณฑ์งานเฝ้าระวังส่งเสริมทันตสุขภาพ ร้อยละ 100% ของ แห่ง
งานสุขภาพภาคประชาชน
47 อสม.เก่า ได้รับการอบรมฟื้นฟูวิชาการ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (หลักสูตร 2 วัน 1 คืน) ร้อยละ 50% ของ คน
48 อสม.ใหม่ได้รับการอบรมเข้มทุกคน (หลักสูตร 2 วัน 1 คืน) ร้อยละ 100% ของ คน
49 หมู่บ้านผ่านการประเมินการจัดการสุขภาพ ร้อยละ > 60 % ของ หมู่
งานพัฒนาคุณภาพบริการ
50 หน่วยบริการปฐมภูมิมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานทั้ง 4 หมวดมาตรฐาน ร้อยละ > 90% ของ แห่ง
51 บุคลากรที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะที่เหมาะสมทั้งในระดับอำเภอ จังหวัดและในเขต อย่างน้อยคนละ 1 เรื่อง/ปี ร้อยละ 100% ของ คน
52 ประชาชนผู้รับบริการจากหน่วยบริการสุขภาพ มีความพึงพอใจต่อการบริการ ร้อยละ > 80% ของ คน

งานพัฒนาบุคลากร
53 บุคลากรด้านสุขภาพได้รับการพัฒนาสมรรถนะ การเสริมสร้างขวัญกำลังใจและการสร้างบรรยากาศในการทำงานอย่างมีส่วนร่วมไม่น้อยกว่า10 วัน/ปี(60 ชั่วโมง/คน/ปี) ร้อยละ 100% ของ คน
54 บุคลากรด้านสุขภาพได้รับการพัฒนาเพื่อเปิดโลกทัศน์ อย่างน้อย คนละ 1 ครั้ง/ปี ร้อยละ 100% ของ คน
งานประกันสุขภาพถ้วนหน้า
55 ร้อยละความครอบคลุมสิทธิด้านการประกันสุขภาพของประชาชน ร้อยละ 99.75% ของ คน
56 ร้อยละประสิทธิภาพของการลงทะเบียน ร้อยละ 99.25% ของ คน
57 ร้อยละค่าว่างได้รับการลงทะเบียน ร้อยละ 80% ของ คน
58 ร้อยละการบันทึกข้อมูลของผู้มีภาวะเสี่ยง ร้อยละ 50% ของ คน
59 ร้อยละของผู้มีภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 80% ของ คน
60 คุณภาพข้อมูล 18 แฟ้ม ร้อยละ 90% ของ visit
61 คุณภาพข้อมูล 4 แฟ้ม ร้อยละ 66% ของ visit
62 ร้อยละของหน่วยงานรับตรวจได้รับการตรวจสอบภายใน 1 ครั้ง/ปี/หน่วยรับตรวจ ร้อยละ 100% ของ แห่ง
งานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดล้อม
63 ร้อยละ 80 ของร้านอาหารและแผงลอยที่ผ่านเกณฑ์อาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) ของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ >=80% ของ ร้าน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบลให้สามารถดำเนินงานผ่านเกณฑ์กระบวนการเมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพ กรมอนามัย ร้อยละ ของ
64 1.*ระดับเทศบาล ร้อยละ 100 ร้อยละ 100% ของ แห่ง
65 2.*ระดับองค์การบริหารส่วนตำบล ร้อยละ 50 ร้อยละ 50% ของ แห่ง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ให้สามารถดำเนินงานผลสัมฤทธิ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ผ่านเกณฑ์ของกรมอนามัย ดังนี้ ร้อยละ ของ
66 1.*ระดับ 1 (ผ่านเกณฑ์ความสำเร็จ 2 เรื่อง) เทศบาล ร้อยละ 100 ร้อยละ 100% ของ แห่ง
67 2. และระดับองค์การบริหารส่วนตำบลร้อยละ 50 ร้อยละ 50% ของ แห่ง
68 3.*ระดับที่ 2 (ผ่านเกณฑ์ความสำเร็จ 4 เรื่อง) เทศบาล อำเภอละ 1 แห่ง ร้อยละ 1 ของ แห่ง
69 4. และระดับองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอละ 1 แห่ง ร้อยละ 1 ของ แห่ง
มีการพัฒนาและยกระดับสุขาเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะ (HAS) ร้อยละ ของ
70 -โรงเรียน ร้อยละ 60% ของ แห่ง
71 -สถานีอนามัย ร้อยละ 100% ของ แห่ง
72 ร้อยละ 80 ของตลาดสดประเภทที่ 1 (ตลาดที่มีโครงสร้างถาวรและจำหน่ายเป็นประจำ) ที่ได้รับการรับรองความสะอาดและผ่านเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อระดับดี (3 ดาว) หรือระดับดีมาก (5 ดาว) ร้อยละ 80% ของ แห่ง
73 ร้อยละของร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายก๋วยเตี๋ยว ได้มาตรฐานก๋วยเตี๋ยวอนามัย ส่งเสริมคนไทยสุขภาพดี เป้าหมาย 15% ร้อยละ 15% ของ ร้าน

กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
74 อาหารมีความปลอดภัยจากสารปนเปื้อน 5 ชนิด( ยาฆ่าแมลงเฉพาะในเนื้อสัตว์ตากแห้งหรือแปรรูป )ร้อยละ 95 ร้อยละ >=95% ของ ร้าน
75 การใช้น้ำมันทอดซ้ำปลอดภัย ร้อยละ 90 ร้อยละ >=90% ของ ร้าน
76 สถานีอนามัยใช้ยาสมุนไพร ร้อยละ 1.5 ของการใช้ยาทั้งหมดของสถานีอนามัย ร้อยละ >=1.5% ของ
77 เครื่องสำอางทาสิว ฝ้า ทำให้หน้าขาว ปลอดภัยจากสารห้ามใช้ 3 ชนิด (ไฮโดรควิโนน, ปรอท, กรดรทิโนอิก) ร้อยละ 90 ร้อยละ >90% ของ
78 โรงเรียนมัธยมศึกษามีกิจกรรมอย.น้อยร้อยละ 70 ร้อยละ 70% ของ แห่ง

งานโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองตามเกณฑ์ที่กำหนด

79 1.1 15 ปี ขึ้นไปคัดกรองโรคระบบเมตตาบอลิก ร้อยละ 90% ของ คน
80 1.2 35 ปีขึ้นไปคัดกรองโรคเบาหวาน ร้อยละ 90% ของ คน
81 1.3 35 ปีขึ้นไปคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90% ของ คน
82 1.4 กลุ่มป่วยกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 90% ของ คน
83 กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้และบริการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดเสี่ยงลดโรค (ร้อยละ 80) ร้อยละ 80% ของ คน
อัตราการเข้ารับการรักษาตัวด้วยโรคเรื้อรังจากปีที่ผ่านมา(อัตราการค้นพบ) ลดลง ร้อยละ 1 ร้อยละ ของ
84 3.1 เบาหวาน ร้อยละ 21 ของ แห่ง
85 3.2 ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 21 ของ แห่ง
86 3.3 หลอดเลือดสมอง ร้อยละ 21 ของ แห่ง
87 3.4 หัวใจขาดเลือด ร้อยละ 21 ของ แห่ง


งานมะเร็ง
88 สตรีกลุ่ม30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap-smear / VIA ร้อยละ 20% ของ คน
89 อัตราการเข้ารับการรักษาตัวด้วยโรคมะเร็งเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา(ค้นพบ) 5% ร้อยละ 21 ของ แห่ง
90 อัตราการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกลดลงจากปีที่ผ่านมา ลดลง ร้อยละ 5% ของ ร้อยละ

งานสุขภาพจิต
91 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จไม่เกิน 6.5 ต่อประชากรแสนคน ร้อยละ 6.5 ของ อัตรา/แสน
92 ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยจิตเภทได้รับการประเมินคุณภาพชีวิต ร้อยละ 90 ของ คน
93 ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยจิตเภทที่มีปัญหาซับซ้อนได้รับการดูแลช่วยเหลือ ร้อยละ 90% ของ คน
94 ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าและฆ่าตัวตายอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80% ของ คน
งานยาเสพติด
95 ร้อยละ83 ของผู้ป่วยยาเสพติดระบบสมัครใจที่ได้รับการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพตามเกณฑ์กำหนด ร้อยละ 83% ของ คน
96 ร้อยละ 85 ของเยาวชนอายุ10-24ปี เป็นสมาชิก TO BE NUMBER ONE ร้อยละ 85% ของ คน
97 มีจำนวนสมาชิก TO BE NUMBER ONE เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 20 ร้อยละ 85% ของ แห่ง
98 โรงเรียนมัธยมศึกษาทุกแห่งมีการดำเนินงานศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น ร้อยละ 80% ของ รร.
ร้อยละการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ ของ
99 5.1 สถานประกอบการ ( ร้านอาหาร,ปั้มน้ำมัน,คาราโอเกะ,) ร้อยละ 100% ของ แห่ง
100 5.2 ร้านค้า ร้านชำ ร้อยละ 100% ของ แห่ง
101 5.3 วัด ร้อยละ 100% ของ แห่ง
102 ร้อยละสถานพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขจัดเป็นเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ดำเนินการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100% ของ แห่ง

งานควบคุมป้องกันโรคและระบาดวิทยา
103 อัตราป่วยด้วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ลดลงร้อยละ 50 จากปีที่แล้ว ร้อยละ <50% ของ คน
104 ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด A H1N1 ร้อยละ 0 ของ คน
105 ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคพิษสุนัขบ้า ร้อยละ 0 ของ คน
106 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อ 100,000 ประชากร ร้อยละ ≤ 50/แสน ของ คน
107 อัตราป่วยตายโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 0.13 ร้อยละ ≤ 0.13% ของ คน
108 อัตราการติดเชื้อ HIV รายใหม่ไม่เกินร้อยละ 0.6 ร้อยละ ≤0.6 ของ คน
109 ผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ และผู้ป่วยเอดส์ที่ CD4 น้อยกว่า 200 cell/mm3ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 98 ร้อยละ ≥98% ของ คน
110 นักเรียนมีความรู้ตามข้อคำถามของ UNGUSS ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ร้อยละ ≥50% ของ คน
111 อัตราการใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดของวัยรุ่นมากกว่าร้อยละ 69 ร้อยละ >69% ของ คน
112 หญิงคลอดที่ติดเชื้อ HIV ได้รับยาต้านไวรัสขณะตั้งครรภ์ร้อยละ 98 ร้อยละ 98% ของ คน
113 อัตราการติดเชื้อเอดส์จากแม่สู่ลูก ไม่เกิน ร้อยละ 3.75 ร้อยละ ≤ 3.75 ของ คน
114 อัตราการค้นพบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ มากกว่า 75 ต่อแสนประชากร ร้อยละ > 75/แสน ของ คน
115 อัตราการรักษาผู้ป่วยวัณโรคหายขาด ร้อยละ 90 ร้อยละ 90% ของ คน
116 อัตราการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีน (ยกเว้น OPV) ร้อยละ 70 ร้อยละ 70% ของ คน
117 อัตราป่วยโรคอาหารเป็นพิษไม่เกินค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (1,822 ราย คิดเป็น 337.69/100,000) ร้อยละ ของ คน
118 สถานบริการผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานระบาดวิทยา ร้อยละ ของ แห่ง
งานทันตสาธารณสุข
119 หญิงมีครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 50% ของ คน
120 หญิงมีครรภ์ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับการรักษา ร้อยละ > 20% ของ คน
121 เด็กอายุ 9-12 เดือน ได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 50% ของ คน
122 พ่อ แม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก อายุ 9-12 เดือน ได้รับคำแนะนำ สาธิต ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก ร้อยละ 50 ร้อยละ 50% ของ คน
123 ศพด.จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ทุกวัน ร้อยละ 80% ของ แห่ง
124 ศพด.มีสถานที่แปรงฟันอย่างเหมาะสม ร้อยละ 100% ของ แห่ง
125 ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 40% ของ แห่ง
126 เด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 35 ร้อยละ >35 % ของ คน
127 นักเรียนประถมศึกษาแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ทุกวัน ร้อยละ 85% ของ คน
128 โรงเรียนประถมศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน ร้อยละ 100% ของ แห่ง
129 นักเรียนชั้นประถมศึกษาได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกคน ร้อยละ 100% ของ คน
130 นักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ร้อยละ 40% ของ คน
131 เด็กนักเรียน ป 6 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ร้อยละ 20% ของ คน
132 เด็กนักเรียน ป 1,3,6 ได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 80% ของ คน
133 โรงเรียนประถมศึกษาผ่านเกณฑ์งานเฝ้าระวังส่งเสริมทันตสุขภาพ ร้อยละ 100% ของ แห่ง

งานสุขภาพภาคประชาชน
134 อสม.เก่า ได้รับการอบรมฟื้นฟูวิชาการ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (หลักสูตร 2 วัน 1 คืน) ร้อยละ 50% ของ คน
135 อสม.ใหม่ได้รับการอบรมเข้มทุกคน (หลักสูตร 2 วัน 1 คืน) ร้อยละ 100% ของ คน
136 ร้อยละ ของผู้สูงอายุได้รับการดูแลโดย อสม. ร้อยละ 100% ของ คน
137 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลโดย อสม. ร้อยละ 100% ของ คน
138 ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลโดย อสม. ร้อยละ 100% ของ คน
139 ร้อยละ ของเด็กแรกเกิด-ต่ำกว่า 6 ปี ได้รับการดูแลโดย อสม. ร้อยละ 100% ของ คน
140 ร้อยละ ของผู้พิการได้รับการดูแลโดย อสม. ร้อยละ 100% ของ คน
141 ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิต และหลอดเลือดสมอง ได้รับการคัดกรองเบื้องต้นโดย อสม. ร้อยละ 100% ของ คน
142 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลโดย อสม. ร้อยละ 80% ของ คน
143 หมู่บ้านผ่านการประเมินการจัดการสุขภาพ ร้อยละ 100% ของ หมู่

งานพัฒนาคุณภาพบริการ
144 ร้อยละของสถานีอนามัย ศูนย์สุขภาพชุมชน และ โรงพยาบาลตำบล ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100% ของ แห่ง
145 บุคลากรที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะที่เหมาะสมทั้งในระดับอำเภอ จังหวัดและในเขต อย่างน้อยคนละ 1 เรื่อง/ปี ร้อยละ 100% ของ คน
146 ร้อยละ โรงพยาบาลตำบล ผ่านเกณฑ์มาตรฐานงานสุขศึกษา ร้อยละ 100% ของ แห่ง
147 ร้อยละของศูนย์สุขภาพชุมชนผ่านมาตรฐานสุขศึกษา ร้อยละ 50% ของ แห่ง
148 ประชาชนผู้รับบริการจากหน่วยบริการสุขภาพ มีความพึงพอใจต่อการบริการ ร้อยละ > 80% ของ คน

งานบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
149 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (> ร้อยละ 60)

No comments:

Post a Comment